ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เขต1

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่าย สสส. สปสช. และ สธ
ตัวชี้วัด : มีกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผนพัฒนาโครงการ และติดตามประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่าย สสส. สปสช. สธ. และเพื่อดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่าย สสส. สปสช. สธ และกองทุน ฯ ในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ใช้ กรอบขั้นตอน HIA และปัจจัยกำหนดสุขภาพกำหนดขอบเขตแนวทางการศึกษา ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. ปัจจัยบุคคล พี่เลี้ยงเขต1 ได้พัฒนาคู่มือ coaching และวิธีการฝึกอบรม ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของทีมระดับพื้นที่ ซึ่งเป็น นวัตกรรมกระบวนการ coaching 2. สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์เดิมลักษณะพี่น้อง ได้พัฒนาให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อการพัฒนา กปท. ทั้ง 10 กองทุน ให้สามารถบันทึกข้อมูลในระบบติดตามและประเมินผลโครงการ สอดคล้องกับแผนของ สสส. สปสช. และ สธ. 5 แผน ได้แก่ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด อาหารและโภชนาการ กิจกรรมทางกาย และการบริหารจัดการกองทุนระดับตำบล และแผนงานอื่น ๆ ได้แก่ ป้องกัน แก้ไขปัญหาและฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 โรคเรื้อรัง อุบัติเหตุ อนามัยแม่และเด็ก เด็กเยาวชน ครอบครัว ผู้สูงอายุ สิ่งแวดล้อม เผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด กลุ่มประชากรทั่วไปที่มีความเสี่ยง และคนพิการ 3. กลไก ระบบ กระบวนการ กลไกที่มีทุกระดับยังไม่สามารถทำหน้าที่ตามบทบาทได้เต็มที่ และยังไม่มีการบูรณาการทำงานร่วมกันอย่างแท้จริง กระบวนการเรียนรู้ เกิดนวัตกรรมกระบวนการ coaching ของพี่เลี้ยงเขต 1 การมีส่วนร่วมของกลไกทุกระดับมีส่วนร่วมระดับ การรับรู้ ตัดสินใจ ปฏิบัติการ ส่วนการติดตามประเมินผลเกิดขึ้นในพี่เลี้ยงระดับเขต และจังหวัด

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh