ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เขต1

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เขต1 ”

เชียงใหม่, เชียงราย, ลำปาง, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, แพร่, น่าน, พะเยา

หัวหน้าโครงการ
นายสุวิทย์ สมบัติ, เพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์, ไพรัฐ รัตนชมภู, นพดล จำรัส, ธวัชชัย กันทะวันนา, นพดล พรมรักษา, อดิศร ปันเซ, มนัตชนก ณมงคล, จินต์จุฑา พุ่มพวง

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เขต1

ที่อยู่ เชียงใหม่, เชียงราย, ลำปาง, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, แพร่, น่าน, พะเยา จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 สิงหาคม 2019 ถึง 31 กรกฎาคม 2021


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เขต1 จังหวัดแพร่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เชียงใหม่, เชียงราย, ลำปาง, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, แพร่, น่าน, พะเยา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เขต1



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผนพัฒนาโครงการ และติดตามประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่าย สสส. สปสช. สธ. และเพื่อดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่าย สสส. สปสช. สธ และกองทุน ฯ ในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ใช้ กรอบขั้นตอน HIA และปัจจัยกำหนดสุขภาพกำหนดขอบเขตแนวทางการศึกษา ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. ปัจจัยบุคคล พี่เลี้ยงเขต1 ได้พัฒนาคู่มือ coaching และวิธีการฝึกอบรม ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของทีมระดับพื้นที่ ซึ่งเป็น นวัตกรรมกระบวนการ coaching 2. สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์เดิมลักษณะพี่น้อง ได้พัฒนาให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อการพัฒนา กปท. ทั้ง 10 กองทุน ให้สามารถบันทึกข้อมูลในระบบติดตามและประเมินผลโครงการ สอดคล้องกับแผนของ สสส. สปสช. และ สธ. 5 แผน ได้แก่ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด อาหารและโภชนาการ กิจกรรมทางกาย และการบริหารจัดการกองทุนระดับตำบล และแผนงานอื่น ๆ ได้แก่ ป้องกัน แก้ไขปัญหาและฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 โรคเรื้อรัง อุบัติเหตุ อนามัยแม่และเด็ก เด็กเยาวชน ครอบครัว ผู้สูงอายุ สิ่งแวดล้อม เผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด กลุ่มประชากรทั่วไปที่มีความเสี่ยง และคนพิการ 3. กลไก ระบบ กระบวนการ กลไกที่มีทุกระดับยังไม่สามารถทำหน้าที่ตามบทบาทได้เต็มที่ และยังไม่มีการบูรณาการทำงานร่วมกันอย่างแท้จริง กระบวนการเรียนรู้ เกิดนวัตกรรมกระบวนการ coaching ของพี่เลี้ยงเขต 1 การมีส่วนร่วมของกลไกทุกระดับมีส่วนร่วมระดับ การรับรู้ ตัดสินใจ ปฏิบัติการ ส่วนการติดตามประเมินผลเกิดขึ้นในพี่เลี้ยงระดับเขต และจังหวัด

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขับเคลื่อนพัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนในการทำแผน พัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่าย สสส. สปสช.และ สธ. ของกองทุนตำบลตามบริบทพื้นที่ดังนี้ 1. นำร่องในพื้นที่กองทุนตำบลของ อปท. ที่มีการดำเนินการ่วมกับพชอ. 5 จังหวัดๆละ 1 อำเภอ ๆละ 9-11 กองทุน รวม 51 กองทุน คือ แพร่ น่าน ลำพูน พะเยา และแม่ฮ่องสอน 2.ดำเนินการในพื้นที่เทศบาลขนาดใหญ่ 2 จังหวัดคือเทศบาลนครลำปางและเชียงใหม่ 3.ดำเนินการกองทุนตำบลใน รพสต.ถ่ายโอนนพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ 1 แห่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่าย สสส. สปสช. และ สธ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    ปฐมวัย (0-5 ปี)
    วัยเรียน (6-12 ปี)
    วัยรุ่น (13-15 ปี)
    เยาวชน (15-20 ปี)
    วัยทำงาน
    ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    ผู้พิการ
    ผู้หญิง
    มุสลิม
    พระภิกษุ
    ชาติพันธุ์
    ผู้ต้องขัง
    หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
    กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
    แรงงานข้ามชาติ
    อื่น ๆ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่าย สสส. สปสช. และ สธ
    ตัวชี้วัด : มีกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    ปฐมวัย (0-5 ปี) -
    วัยเรียน (6-12 ปี) -
    วัยรุ่น (13-15 ปี) -
    เยาวชน (15-20 ปี) -
    วัยทำงาน -
    ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    ผู้พิการ -
    ผู้หญิง -
    มุสลิม -
    พระภิกษุ -
    ชาติพันธุ์ -
    ผู้ต้องขัง -
    หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
    กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
    แรงงานข้ามชาติ -
    อื่น ๆ -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผนพัฒนาโครงการ และติดตามประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่าย สสส. สปสช. สธ. และเพื่อดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่าย สสส. สปสช. สธ และกองทุน ฯ ในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ใช้ กรอบขั้นตอน HIA และปัจจัยกำหนดสุขภาพกำหนดขอบเขตแนวทางการศึกษา ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. ปัจจัยบุคคล พี่เลี้ยงเขต1 ได้พัฒนาคู่มือ coaching และวิธีการฝึกอบรม ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของทีมระดับพื้นที่ ซึ่งเป็น นวัตกรรมกระบวนการ coaching 2. สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์เดิมลักษณะพี่น้อง ได้พัฒนาให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อการพัฒนา กปท. ทั้ง 10 กองทุน ให้สามารถบันทึกข้อมูลในระบบติดตามและประเมินผลโครงการ สอดคล้องกับแผนของ สสส. สปสช. และ สธ. 5 แผน ได้แก่ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด อาหารและโภชนาการ กิจกรรมทางกาย และการบริหารจัดการกองทุนระดับตำบล และแผนงานอื่น ๆ ได้แก่ ป้องกัน แก้ไขปัญหาและฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 โรคเรื้อรัง อุบัติเหตุ อนามัยแม่และเด็ก เด็กเยาวชน ครอบครัว ผู้สูงอายุ สิ่งแวดล้อม เผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด กลุ่มประชากรทั่วไปที่มีความเสี่ยง และคนพิการ 3. กลไก ระบบ กระบวนการ กลไกที่มีทุกระดับยังไม่สามารถทำหน้าที่ตามบทบาทได้เต็มที่ และยังไม่มีการบูรณาการทำงานร่วมกันอย่างแท้จริง กระบวนการเรียนรู้ เกิดนวัตกรรมกระบวนการ coaching ของพี่เลี้ยงเขต 1 การมีส่วนร่วมของกลไกทุกระดับมีส่วนร่วมระดับ การรับรู้ ตัดสินใจ ปฏิบัติการ ส่วนการติดตามประเมินผลเกิดขึ้นในพี่เลี้ยงระดับเขต และจังหวัด

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

    การติดตามและประเมินผลโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาพระดับพื้นที่ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ สามารถสรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ปัจจัยบุคคล - ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ความสามารถ พบว่า บุคลากรของ รพสต. และ อปท. มีความรู้และเข้าใจ ทักษะ และความสามารถในการทำแผน การพัฒนาโครงการ การติดตามประเมินผล ส่วน กสต.ที่เป็นตัวแทนภาคส่วนอื่นมีน้อย จากการสังเกตการเข้าร่วมฝึกอบรมไม่พบตัวแทนภาคส่วนอื่น เข้าร่วม
    2. สภาพแวดล้อม (วิถีชีวิต วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ ฯลฯ) พบว่า เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันของทีมพี่เลี้ยงเขต ทีมพี่เลี้ยงจังหวัด ทีมพี่เลี้ยงอำเภอ และ กสต.ทุกกองทุน ทำให้เกิดความร่วมมือในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ลักษณะ “เพื่อช่วยเพื่อน” และ“พี่ช่วยน้อง”
    3. กลไก ระบบ กระบวนการ - กลไกสนับสนุน มีพี่เลี้ยงระดับเขต เป็นกลไกหลักในการพัฒนาศักยภาพ และช่วยเหลือทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและอำเภอ ในขณะที่พี่เลี้ยงระดับอำเภอได้ทำหน้าที่หนุนเสริม กสต. ด้วยรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
    - กระบวนการเรียนรู้ มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด และ กสต. อย่างต่อเนื่อง ด้วยการจัดฝึกอบรมร่วม จัดประชุมกลุ่มย่อย และแบบตัวต่อตัว นอกจากนี้ยังมีกลุ่มไลน์สำหรับเรียนรู้ร่วมกัน และการติดตามผลการดำเนินงาน - กระบวนการมีส่วนร่วม เกิดการเรียนรู้ระหว่างทีมพี่เลี้ยง เขต/จังหวัด/อำเภอ แบบพี่/เพื่อน ข้อเสนอแนะ 1. การตั้งคณะกรรมการร่วมที่มาจากหน่วยงานภายใต้กลไกระดับต่าง ๆ เพื่อรองรับการขับเคลื่อนให้โครงการสำเร็จเกิดความต่อเนื่อง
    2. เพิ่มสัดส่วนงบประมาณสำหรับคนทำงานระดับพื้นที่มากขึ้น ในส่วนของผู้ปฏิบัติการลงบันทึกข้อมูลในระบบ
    3. มีเกณฑ์การคัดเลือกคน/พื้นที่ควบคู่กัน 4. สจรส. สปสช. สธ. อปท ทำข้อตกลงร่วมกัน พัฒนาพื้นที่รูปธรรมขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่อง 5. ส่งเสริมให้ชุมชนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผล
    6. ควรมี เจ้าหน้าที่ ประจำ อปท.รับผิดชอบโดยตรง 7. ควรจัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของทุกกองทุนอย่างต่อเนื่อง 8. แผนของ กปท.ควรมาจากปัญหาของชุมชน
    9. ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการในกลไกที่เกี่ยวข้อง “เอาภาระร่วม” ไม่แบ่งแยก

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เขต1

    ระยะเวลาโครงการ 5 สิงหาคม 2019 - 31 กรกฎาคม 2021

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เขต1 จังหวัด แพร่

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุวิทย์ สมบัติ, เพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์, ไพรัฐ รัตนชมภู, นพดล จำรัส, ธวัชชัย กันทะวันนา, นพดล พรมรักษา, อดิศร ปันเซ, มนัตชนก ณมงคล, จินต์จุฑา พุ่มพวง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด