ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

stars
1. สถานการณ์/ปัญหา
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
2. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
3. แนวทาง/วิธีการสำคัญ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล
label_important
วิธีการสำคัญ
- การพัฒนาทักษะการจัดการขยะตามหลัก 7 R (Reduce Re-use Recycle Repair ) แก่ประชาชนในครัวเรือน
- การพัฒนาทักษะการจัดการขยะตามหลัก 7 R (Reduce Re-use Recycle Repair ) แก่เยาวชนและนักเรียน
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนาระบบและกลไกด้านการจัดการขยะ
label_important
วิธีการสำคัญ
- การจัดตั้งธนาคารขยะชุมชน หรือ ธนาคารขยะในหน่วยงาน
- กลไกสภาเยาวชนจัดการขยะในชุมชน
- การมีกลไกเฝ้าระวังจุดเสี่ยงต่อการทิ้งขยะสมสมในชุมชน เช่น ที่รกร้างว่างเปล่า ที่ลับตาผู้คน ที่ดินซึ่งมีการนำสิ่งของมาทิ้งประจำ เป็นต้น
stars
แนวทางดำเนินงาน : การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
- การจัดทำข้อมูลปริมาณและประเภทของขยะในครัวเรือน
- การมีเวทีคืนข้อมูลกับชุมชนเพื่อการจัดการขยะ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ
label_important
วิธีการสำคัญ
- จัดตั้งครอบครัวต้นแบบจัดการขยะแบบครบวงจร
- การนำเศษอาหารหรือผักจัดทำปุ๋ยหมักหรือการเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน เชื่อมโยงกับกลุ่มเกษตรกรเพาะปลูกอินทรีย์
stars
แนวทางดำเนินงาน : การมีนโยบายสาธารณะหรือกติกาชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
- การมีกติกาหรือข้อตกลงของหมู่บ้าน เรื่อง การห้ามทิ้งขยะ เป็นต้น
- การมีแผนงานหรือโครงการเกี่ยวกับการจัดการขยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน
stars
แนวทางดำเนินงาน : การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการระบบอาหารการเพิ่มแหล่งผลิตอาหารสุขภาพ การมีอาหารคุณภาพ ปลอดภัย และ การใช้ประโยชน์
label_important
วิธีการสำคัญ
1.ชุมชนปลูกพืชผักรั้วกินได้ สวนผักในเมือง เพื่อแก้ปัญหาอาหารโภชนาการและอาหารปลอดภัย
2.จัดทำเกษตรในโรงเรียนเพื่อแก้ปัญหาการขาดอาหาร : การปลูกผัก นาข้าว การเลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงปลา
3.ส่งเสริมการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์มาใช้ในระบบอาหารของครัวเรือน ชุมชน
4.การใช้เมนูอาหารที่เหมาะสมกับทุกช่วงวัยในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน และชุมชน
5.การปรับปรุงสุขาภิบาลอาหารในโรงครัว โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่
6.การพัฒนาตลาดอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ (ตลาดปลอดภัย/ตลาดสีเขียว/ตลาดอินทรีย์/ตลาดน่าซื้อ ฯลฯ ของชุมชน)
7.การส่งเสริมการบริโภคโดยใช้เมนูอาหารพื้นบ้าน เมนูอาหารเป็นยา เมนูชูสุขภาพ ผักสมุนไพรเพื่อสุขภาพ เพื่อการส่งเสริมและป้องกันโรค
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล 1. การพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน ให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการจัดการอาหารในชุมชน 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคตามกลุ่มวัย (วัยเด็ก/วัยเรียน.วันทำงาน/วัยสูงอายุ)3.ส่งเสริมการรวมกลุ่มและพัฒนาแหล่งเรียนรู้
label_important
วิธีการสำคัญ
1.การพัฒนาศักยภาพครู ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ด้านอาหารในโรงเรียนและชุมชน เช่นการอบรมโปรแกรม Menu Thai School Lunch
2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคในกลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาเช่น เด็ก/ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/ผู้สูงอายุ ฯลฯ เช่น การส่งเสริมการบริโภค ผัก ผลไม้
3.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคในครัวเรือน /โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก และชุมชน เช่น ลด หวาน มัน เค็ม ลดการบริโภคน้ำหวานน้ำอัดลม
4.การฝึกทักษะการปรุง การใช้ตำรับอาหารพื้นบ้านที่เป็นยา อาหารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ
5.มีการพัฒนาสูตรอาหารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ
6.พัฒนาศักยภาพแกนนำแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
7.การสร้างบุคคล ครัวเรือน ต้นแบบ (Role model)
8.บูรณาการเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย เข้ากับการเรียนในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อแก้ปัญหาโภชนาการในชุมชน
9.ส่งเสริมให้แกนนำแหล่งเรียนรู้ ถ่ายทอดภูมิปัญญาด้านอาหารแก่คนรุ่นหลัง
stars
แนวทางดำเนินงาน : การปรับระบบ กลไก 1.การพัฒนาระบบเฝ้าระวังเรื่องการจัดการอาหารในชุมชน 2.การพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร 3.การจัดตั้งชมรม กลุ่ม เครือข่ายต่างๆ ในชุมชนเพื่อการจัดการอาหาร
label_important
วิธีการสำคัญ
1. การพัฒนาระบบการจัดการข้อมูลภาวะโภชนาการในศูนย์เด็กเล็กและในโรงเรียน
2. การใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch เพื่อจัดการอาหารในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน
3. การติดตามภาวะโภชนาการของคนในชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มเด็กและผู้สูงอายุ
4. การสนับสนุนชมรม กลุ่ม เครือข่ายต่างๆ ในชุมชนเพื่อการจัดการอาหาร เช่น กลุ่มเกษตรกรปลอดสารพิษ.เกษตรอินทรีย์ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเครื่องแกง กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ ฯลฯ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
1. พัฒนาแกนนำและผู้ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเก็บข้อมูล การจัดทำข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดเวทีคืนข้อมูล
2. การทำแผนชุมชน การทำแผนท้องถิ่น การจัดทำโครงการหรือกิจกรรมร่วมกับชุมชน
3. สนับสนุนให้ชุมชนที่ส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเพื่อการมีและเข้าถึงอาหาร ทำให้มีอาหารปลอดภัยบริโภค และบริโภคที่ถูกต้อง มีโภชนาการที่สมวัย
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนานโยบายสาธารณะด้านอาหารในชุมชน 1. เกิดธรรมนูญสุขภาพ 2. เกิดกติกาหรือข้อตกลงร่วม 3. เกิดมาตรการของชุมชนและท้องถิ่น
label_important
วิธีการสำคัญ
1. การไม่ขายเครื่องดื่มน้ำหวาน ขนมขบเคี้ยวในบริเวณ ใกล้หรือในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน
2. นโยบายชุมชนปลอดน้ำอัดลม เหล้า สุรา ในงานเลี้ยง งานบุญ งานประเพณี
3. ข้อตกลงชุมชนให้คนในชุมชนปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเองในครัวเรือน
4. การกำหนดมาตรการ ข้อตกลงร่วม กฏ กติกาของชุมชน ในการลดการใช้สารเคมีในภาคเกษตร
5. การกำหนดมาตรการ ข้อตกลงร่วม กฏ กติกาของชุมชน ในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ที่เป็นแหล่งอาหารของชุมชน
6. นโยบายการนำอาหารสุขภาพไปถวายพระ (ปิ่นโตเพื่อสุขภาพ)
paid
4. งบประมาณที่ตั้งไว้ตามแผนงาน
100000.00 บาท
stars
5. โครงการที่ควรดำเนินการ
ชื่อโครงการย่อยผู้รับผิดชอบงบประมาณที่ตั้งไว้ (บาท)
stars
6. รายชื่อข้อเสนอโครงการ
ไม่มี
stars
7. รายชื่อติดตามโครงการ
ปีงบประมาณชื่อติดตามโครงการองค์กรรับผิดชอบงบประมาณ (บาท)
รวม 0.00
stars
8. เอกสารประกอบ
Nirundorn
Nirundornแผนงานเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2567 น.