ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

การติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้เขตพื้นที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาสใช้กรอบการประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ โดยประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วยคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้เขตพื้นที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จำนวน 10 คน เจ้าหน้าที่ทั่วไปโรงพยาบาลรือเสาะจำนวน 20 คน และกลุ่มประชาชนในพื้นที่ขับเคลื่อนพหุวัฒนธรรมวิถีพุทธจำนวน 50 คน และกลุ่มประชาชนวิถีมุสลิม จำนวน 185 คน โดยใช้กระบวนการสนทนากลุ่ม ซึ่งใช้แบบสอบถามแบบกึ่งโครงสร้างตามกรอบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพร่วมกับ การรวบรวมข้อมูลจากเอกสารของพื้นที่ การบันทึกภาคสนาม โดยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
            ผลการประเมินพบว่า 1) ด้านวิธีการทำงานการจัดการใหม่ในรูปแบบนโยบายสุขภาพดีวิถีธรรม กระทรวงสาธารณสุขโดยการใช้ 3ส3อ 1น วิถีพุทธ (3 ส ประกอบด้วย สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม, 3 อ ประกอบด้วย อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย,1น คือนาฬิกาชีวิต) ส่วน 3ส3อ 1น วิถีอิสลาม (3 ส ประกอบด้วย ดุอาร์ รักษาหม่าม นาศีฮัต, 3 อ ประกอบด้วย บารอกัต เอาชนะนัฟซู อามานะห์, 1น คือวิถีสุนนะห์) มาประยุกต์ใช้ในสถานบริการและชุมชน ในสถานบริการมีการใช้ Ruso 8 hrs happinometer ส่วนในชุมชนใช้แนวคิดวิถีพุทธ วิถีอิสลาม ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ใหม่ให้ชุมชนใกล้เคียงในตำบลลาโล๊ะได้ 2) ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใช้กิจกรรมคุณภาพชีวิต 5 ด้าน (การปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว การปกป้องทรัพยากร) เช่น การสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน รูปแบบการออกกำลังกายที่หลากหลาย มีเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ และใช้นาฬิกาชีวิตในครัวเรือน การนำส่งจิตอาสา 24 ชั่วโมง ในบ้านไทยสุข 44 ครัวเรือน ส่วนในชุมชนมุสลิมนำวิถีสุนนะห์ โดยผู้นำศาสนาและแกนนำ 3) ด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ มีการจัดการขยะในลักษณะเป็นขยะบุญ 12 ชุมชน การปลูกผักปลอดสารพิษ อย่างน้อย 5 ชนิด ปลูกทุกครัวเรือนในไทยพุทธ ส่วนชุมชนมุสลิม มีครัวเรือนปลูกผัก20 ครัวเรือน 4) ด้านนโยบายสาธารณะ มีธรรมนูญวัด และธรรมนูญมัสยิด 12 ชุมชน    5) มีการขับเคลื่อนรูปแบบสภาชุมชน พบการมีส่วนร่วมชุมชนไทยสุข ชุมชนมุสลิมร้อยละ 86.1, 56.9 ตามลำดับ
          ข้อเสนอแนะการดำเนินงานในสถานบริการเรื่องการประเมิน Ruso 8 hrs happinometer ต้องมีผู้ประเมินชัดเจน รวมถึงการทบทวนติดตามการใช้ 3ส3อ 1น วิถีพุทธ วิถีอิสลาม การนำธรรมนูญวัด มัสยิดที่ประกาศใช้เป็นระยะอย่างต่อเนื่องในชุมชน และขยายพื้นที่การใช้ 3ส3อ 1น วิถีพุทธ วิถีอิสลาม การร่วมทำและนำใช้ธรรมนูญวัด และธรรมนูญมัสยิดในพื้นที่ใกล้เคียง

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ