การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
ชื่อโครงการ | การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส |
ภายใต้โครงการ | แผนงานติดตามและประเมินผลโครงการ ภาคใต้ ปี62 |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 1 ตุลาคม 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562 |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอาหามะ เจ๊ะโซะ, นางนิมลต์ หะยีนิมะ, นางเพียงกานต์ เด่นดารา |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางเพียงกานต์ เด่นดารา นางนิมลต์ หะยีนิมะ นายอาหะมะ เจ๊ะโซะ |
พื้นที่ดำเนินการ | จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.3772571,101.506486place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 พ.ย. 2561 | 28 ก.พ. 2562 | 1 พ.ย. 2561 | 28 ก.พ. 2562 | 15,000.00 | |
2 | 1 มี.ค. 2562 | 31 มี.ค. 2562 | 1 มี.ค. 2562 | 31 มี.ค. 2562 | 5,000.00 | |
รวมงบประมาณ | 20,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย จังหวัดสงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส มีพื้นที่การปกครอง 56 อำเภอ 411 ตำบล และ 2,816 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้นจำนวน 3,748,287 คน แบ่งเป็นประชากรที่นับถือศาสนาศาสนาอิสลาม จำนวน 2,871,937 คน (ร้อยละ 76.62) และประชากรที่นับถือพุทธ จำนวน 682,564 คน (ร้อยละ 18.21) เป็นพื้นที่ที่มีลักษณะพิเศษทางสังคมและวัฒนธรรมแตกต่างจากพื้นที่อื่นของประเทศ ประกอบกับสถานการณ์ความรุนแรงเกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ.2547 ต่อเนื่องเป็นต้นมา ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่ในทุกด้าน รวมถึงระบบบริการสุขภาพในพื้นที่จะต้องจัดระบบบริการเพื่อรองรับภาวะวิกฤตที่มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น สถานบริการสุขภาพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้บางพื้นที่ได้มีการดำเนินการจัดบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับพื้นที่พหุวัฒนธรรมไปบ้างแล้ว ภายใต้การผลักดันของศูนย์บริการพัฒนาสุขภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศบ.สต.) ตามความพร้อมและศักยภาพของแต่ละโรงพยาบาลแตกต่างกันไป
ศูนย์บริหารการพัฒนาสุขภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศบ.สต.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) จึงจัดโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้ ขึ้น เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจต่อบุคลากรสาธารณสุขในหลักการและวิถีทางศาสนาต่อการให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนที่ถูกต้อง กำหนดให้โรงพยาบาลรือเสาะ เป็นตัวแทนโรงพยาบาลจังหวัดนราธิวาสในการพัฒนาและยกระดับการจัดบริการสุขภาพให้สอดคล้องกับพื้นที่พหุวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทางทีมประเมินมีความจำเป็นติดตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละดับเพื่อเป็นแนวทางและบทเรียนในการจัดบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรมต่อไป
ใช้กรอบแนวคิดการตามแบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อค้นหาคุณค่าที่เกิดจากโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมอำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
|
1.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 180 | 200 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | 0 | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | 0 | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | 0 | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | - | ||
วัยทำงาน | 0 | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | 100 | 130 | |
พระภิกษุ | 0 | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | 0 | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | 50 | 50 | |
- | 0 | ||
คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรร | 10 | 10 | |
เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล และ รพสต รือเสาะ | 20 | 10 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 20,000.00 | 5 | 20,000.00 | |
3 พ.ย. 61 | ประชุมคณะทำงานเพื่อออกแบบการติดตาม | 0 | 3,500.00 | ✔ | 3,600.00 | |
15 พ.ย. 61 | ลงพื้นที่ติดตามครั้งที่ 1 | 0 | 4,800.00 | ✔ | 4,800.00 | |
27 ธ.ค. 61 | ลงพื้นที่ติดตามครั้งที่ 2 | 0 | 4,800.00 | ✔ | 4,800.00 | |
30 ธ.ค. 61 | ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการติดตาม | 0 | 3,800.00 | ✔ | 4,800.00 | |
30 ม.ค. 62 | สรุปรายงานกิจกรรมฉบับสมบูรณ์ | 0 | 3,100.00 | ✔ | 2,000.00 |
- เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
- เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
- มีการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) ในชุมชนไทยพทธ และมสลิม
- มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน หรือมีธรรมนูญของชุมชน
- เกิดกระบวนการชุมชน 6) มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 พ.ย. 2561 12:34 น.