ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ระยะเวลาโครงการ 1 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

-นโยบายสุขภาพดีวิถี ธรรม กระทรวงสาธารณสุขโดยการใช้ 3ส3อ 1น โดยนำแนวคิดวิถีพุทธ มาปรับใช้ในการจัดการสุขภาพโดยวิธีอิสลามทั้งระบบบริการสุขภาพและชุมชน ดังนี้

  • ระบบบริการสุขภาพ มีการนำ เครื่องมือ Ruso 8 hrs Happinometer เป็นกระบวนการประเมินสภาวะวิกฤติระหว่างการให้บริการ 8 ชั่วโมงที่ให้บริการ ทั้งผู้ให้และผู้บริการ เพื่อเสริมกิจกรรมที่ลดภาวะวิกฤติในระบบบริการ
  • ในชุมชนพุทธและมุสลิม วิถีพุทธ (3 ส ประกอบด้วย สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม, 3 อ ประกอบด้วย อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย,1น คือนาฬิกาชีวิต) สำหรับการใช้นาฬิกาชีวิตในวิถีพุทธ มีการใช้ทุกครัวเรือน 44 ครัวเรือน 168 คน ในชุมชนไทยสุข รูปแบบการนำไปใช้ ประยุกต์ในช่วงเวลา 24 ชั่วโมง ตามกิจกรรมที่สนใจ ความพร้อมและความสมัครใจของสมาชิกในครอบครัว ส่วน 3ส3อ 1น วิถีอิสลาม (3 ส ประกอบด้วย ดุอาร์ รักษาหม่าม นาศีฮัต, 3 อ ประกอบด้วย บารอกัต เอาชนะนัฟซู อามานะห์, 1น คือวิถีสุนนะห์) ลักษณะการใช้นาฬิกาชีวิตรายบุคคลตามวิถี ยังไม่วิเคราะห์และประเมินผลที่ชัดเจน

แต่สามารถพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชนใกล้เคียงได้

  • แบบประเมิน Ruso 8 hrs Happinometer
  • http://hsmi2.psu.ac.th/scac/paper/156/owner
  • การใช้แบบประเมิน Ruso 8 hrs Happinometer ควรกำหนดผู้รับผิดชอบชัดเจนและจะต้องประจำอยู่ในกระบวนการให้บริการตลอดเวลา
  • ในระดับชุมชน ควรมีการกำหนดเครื่องมือและวิธีการใช้และประเมินนาฬิกาชีวิต และสามารถวิเคราะห์คืนข้อมูลให้ชุมชนเป้นระยะ ๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

2.1การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล ในชุมชนไทยสุขและชุมชนมุสลิม มีการปรัปเปลี่ยนฤติกรรมโดยการใช้กิจกรรมคุณภาพชีวิต 5 ด้าน (ด้านการปกป้องจิตวิญญาณ ด้านการปกป้องชีวิต ด้านการปกป้องสติปัญญา ด้านการปกป้องครอบครัว ด้านการปกป้องทรัพยากร) โดยใช้กิจกรรม 3ส3อ 1น ขับเคลื่อน

2.1.1 ชุมชนไทยพุทธใช้กิจกรรม 3 ส(สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม) โดยมีการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน สมาชิกครัวเรือนมีการสนทนาธรรมที่วัดทุก 4 ครั้ง ต่อเดือน และในกิจกรรม3 อ  ( อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ) เช่น การออกกำลังกาย 30 ต่อวันโดยการเต้นแอร์โรบิก ปั่นจักยาน เมนูอาหารเพื่อสุขภาพลดเสี่ยงเบาหวาน ความดัน กิจกรรมการจัดการชีวิต โดยใช้นาฬิกาชีวิต ในครัวเรือน ในบ้านไทยสุข 44 ครัวเรือน
2.1.2 ชุมชนมุสลิม มีการนำการปฏิบัติตามวิถีอิสลาม และการปฏิบัติตามแบบอย่างท่านนาบี โดยมีรูปแบบผู้นำศาสนาและแกนนำชักชวน มาร่วมกิจกรรมทางศาสนาต่างๆ เช่น การชักชวนมาละหมาดที่มัสยิด โดยใช้มาตรการทางสังคม โดนผู้ที่ละหมาดมัสยิดจะรวมตัวกันไปร้านกาแฟ ร้านอาหารที่เจ้าของร้านไปร่วมละหมาด ทำให้ มีผู้ละหมาดที่มัสยิด โดยใช้มาตรการทางสังคม โดนผู้ที่ละหมาดมัสยิดจะรวมตัวกันไปร้านกาแฟ ร้านอาหารที่เจ้าของร้านไปร่วมละหมาด ทำให้ มีผู้ละหมาดเพิ่มชึ้น จาก 3-4 คน เป็น 10-15 คน

 

  • การติดตามประเมินผลกิจกรรมคุณภาพชีวิต 5 ด้านให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

-2.2 การบริโภค ในชุมขนไทยพุทธมีการส่งเสริมเมนูอาหารเพื่อสุขภาพในครัวเรือน และงานบุญ การเน้นบริโภคผักริมรั้วปลอดสารพิษ อย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิด รวมถึงเมนูอาหารเพื่อสุขภาพลดเสี่ยงเบาหวาน ความดัน ในรูปแบบอาหารเป็นยา โดยเริ่มจากสมุนไพรใกล้บ้าน เช่น น้ำดื่มสมุนไพรควบคุมเบาหวาน เมนูอาหารเพื่อสุขภาพในครัวเรือน เป็นผลทำให้ เบาหวานรายใหม่ลดลงจาก 7 คน เหลือ 5 คนในปี61 ความดันโลหิตสุงรายใหม่ลดลงจาก 12คน เหลือ 5 คนในปี61DM control ลดลงจาก 8คน เหลือ 6คนในปี61DM control ลดลงจาก 8คน เหลือ 6 คนในปี61HTcontrolเพิ่มขึ้น จาก14 คน เหลือ 19คนในปี61 ส่วนในชุมชนมุสลิมมีการเน้นบริโภคผักริมรั้วปลอดสารพิษ อย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิดในชุมชนมุสลิม ต ลาโละ

 

  • ควรออกแบบการติดตามเมนูการใช้เมนูสุขภาพ ทั้งในกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยให้ชัดเจน ทำให้เห็นภาพของการเมนูสุขภาพได้ดียิ่งขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

2.3 การออกกำลังกาย มีลานออกกำลังกายในชุมชน การออกกำลังกาย 30 คนต่อวันโดยการเต้นแอร์โรบิกทุกวัน เช้าเย็น รวมถึงมีกิจกรรม ปั่นจักยาน มีการกำหนดเส้นทางปั่นจักยานของชุมชนระยะทาง 16 กม โดยมีกลุ่มปั่นจักยาน 30 คน เป็นสมาชิกกลุ่ม ซึ่งได้นำงบกองทุนออมทรัพย์ของชุมชนไทยสุขจัดซื้อจักยานกองกลาง 20 คันมีลานออกกำลังกายในชุมชน ให้คนในชุมชนยืมออกกำลังกาย มีศูนย์ออกกำลังกายสำหรับคนในชุมชน และชุมชนมีการออแบบการออกกำลังกายที่หลากหลาย เช่น เต้นแอร์โรบิก ออกกำลังกายโ้วยเครื่อง ฟุตบอล วิ่ง เป้นต้น  ส่วนชุมชนมุสลิมมีสถานที่เช่น สนามโรงเรียนเป็นแหล่งออกกำลังกาย แต่ขาดการรวมกลุ่มร่วมออกกำลังกาย จะเป็นรูปแบบต่างคนต่างออกกำลังกาย

 

  • การติดตามภาวะสุขภาพของกลุ่มที่ออกกำลังกาย เป็นรายบุคคลและนำเสนอเป็นภาพรวมของกลุ่มเพื่อสร้างความตระหนักของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

2.4 การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ ในชุมชนไทยพุทธมีการจัดอบรมให้ความรู้ในชุมชน ฟังบรรยายธรรม และเน้นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ด้วยการออกกำลังกายที่ศุนย์เรียนรู้ในกลุ่มเยาชนและเด็ก ทำให้ไม่พบผู้ติดยาเสพติดรายใหม่ และสูบบุหรี่รายใหม่ ส่วนในชุมชนมุสลิมเน้นการบรรยายธรรมพบว่า มีผู้เลิกบุหรี่ 2 คน

 

  • ควรขยายผลกลุ่มเป้าหมายและติดตามการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มเป้า หมายอย่างใกล้ชิด และสร้างความต่อเนื่อง เน้นย้ำความสำคัญของลดอบายมุข
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

2.5 การจัดการอารมณ์ / ความเครียด ในชุมชนไทยพุทธมีการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน สมาชิกครัวเรือนมีการสนทนาธรรม ในกลุ่มประชาชน เยาวชน ที่วัดในทุกวันพระ 4 ครั้ง ต่อเดือน กำหนดเขตปลอดเครื่องมือสิ่อสาร ในลานฝึกสมาธิ ขยายให้เกิดการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน ส่วนในชุมชนมุสลิมเน้นการบรรยายธรรมอาทิตย์ละ 1 ครั้งที่มัสยิด และทุกวันศุกร์มีผู้เข้าร่วมเป็นชายที่ครบอายุต้องละหมาดแต่ไม่ได้ประเมินผู้เข้าร่วมว่ากี่ครัวเรือนที่เข้าร่วมอย่างต่อเนื่อง

 

  • ควรขยายผลกลุ่มเป้าหมายและติดตามการเปลี่ยนแปลงทางสุขภาพของกลุ่มเป้า หมายที่ใช้การจัดการอารณ์/ความเครียด และสร้างความต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

วิถีเกื้อกูลและช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่างไทยพุทธ มุสลิม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน - การใช้รถนำส่งผู้ป่วยโดยใช้รถจิตอาสาในชุมชนตลอด 24 ชั่วโมง เน้นผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก กล้ามเนื่ออ่อนแรง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

3.1 มีรูปแบบการจัดการขยะ ในลักษณะเป็นขยะบุญ โดยให้คนชุมชน คัดแยกขยะที่สามารถขายได้ และเป็นขยะสะอาด นำมาบริจากที่มัสยิด เพื่อขายนำเงินเพื่อใช้ในสาธารณประโยชน์ของมัสยิด ดำเนินงานชุมชนมุสลิม ตำบลโละ 12 ชุมชน ในชุมชนไทยไทยพุทธมีกองทุนขยะที่วัดเช่นกัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

3.2มีการใช้ศาสนา / วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนาโดยการใช้กรอบแนวคิด วิถีธรรม 3ส3อ 1น สร้างพื้นที่สาธารณะโดยใช้ มัสยิด และวัดเป็นฐานในการส่วเสริมสุขภาพ เช่น ลานออกกำลังกายในวัด ลานสนทนาธรรมในวัด และมัสยิด

 

  • ชุมชนควรสร้างความเข้มแข้งของสภาพสังคม อย่างต่อเนื่อง เพิ่มสัดส่วนและพื้นที่ที่เอื้อต่อสุขภาวะชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

3.3 ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ อย่างน้อน 5 ชนิด ปลูกทุกครัวเรือนในไทยพุทธ ส่วนชุมชนมุสลิม มีครัวเรือนปลูกผัก20 ครัวเรือน มีพื้นที่สาธารณะในลักษนะบ่อปลาสาธารณะที่มีพันธ์ปลา ซึ่งมีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน ทั้งนี้การจับปลาในบ่อปลาดุในพื้นที่สาธารณะจะมีอัตราค่าบริการตามเครื่องมือการจับ นำเงินเป็นส่วนกลางเพื่อนำซื้อพันธ์มาใส่ในบ่อปลาต่อไป

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

3.4 มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ การใช้รถนำส่งผู้ป่วยโดยใช้รถจิตอาสาในชุมชนด้วยรถของชุมชนไทยพุทธ ซึ่งคนมุสลิมและไทยพุทธร่วมใช้บริการได้ ร่วมกับรถฉุกเฉิน1669 ของ อบต และ โรงพยาบาล

 

  • ชุมชนควรเพิ่มทักษะการช่วยเหลือเบื้องต้นและการคัดกรองและเฝ้าระวังอาการเตือน/อาการที่ต้องนำส่งโรงพยาบาล เพื่อให้ได้รับการช่วยเหลือทันท่วงที
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน การจับปลาในบ่อปลาดุในพื้นที่สาธาณะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
  • มีธรรมนูญของชุมชน ธรรมนุญวัด และธรรมนูญมัสยิด(วิถีพุธและวิถีอิสลาม )

  - นำใช้ธรรมนูญสุขภาวะวัดอย่างเป็นรูปธรรม คือ หมวดความมั่นคงปลอดภัยในชิวิต หมวดสุขภาพ หมวดการศึกาษา หมวดครอบครัวและสังคม ผู้พิการ ผู้ด้วยโดกาส เด็กกำพร้า แม่หม้าย และผู้ป่วยติดเตียง หมวดทรัพย์สินเศรษฐกิจ และทรัพยากรชุมชน ขาดการทำบัญชีครัวเรือน และหมวดขับเคลื่อนธรรมนูญสู่การปฏิบัติ ยังไม่มีการทบทวนนำสู่การแก้ไขต่อไป

  - ธรรมนูญสุขภาวะมัสยิด ขับเคลื่อนเพียงบางหมวด เช่น หมวดครอบครัวและสังคม หมวดด้านการศึกษาในขับเคลื่อน ในการเข้าร่วมกิจกรรมสำคัญ และเดือนสำคัญทางศาสนา การอบรมการปฏิบัติศาสนกิจ

  - วิถีเกื้อกูลและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในชุมชน ต ลาโละ มีความสัมพันะืที่ดี มีการประชุมพูดคุยอย่างต่อเนื่องตามเทศการวัฒนธรรมและประเพณีของไทยพุทธและไทยมุสลิม มีกิจกรรมสัมพันธ์ เช่น ในเดือนรอมฎอน ชุมชนไทยพุทธจะนำอินทผาลัมไปเยี่นมชุมชนมุสลิม วันสารทชุมชนมุสลิมนำข้าวสารให้ชุมชนไทยพุทธ ทให้เกิดความสงบสุขในตำบลลาโละ

 

  • ควรมีการติดตามประเมินผลและทบทวนธรรมนูญเพื่อให้สอดคล้องบริบทชุมชนพหุวัฒนธรรมต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
  • เกิดความร่วมมือ สภาชุมชนและหน่วยบริการสุขภาพและเครือข่ายในตำบล การร่วมคิดร่วมทำธรรมนูญสุขภาวะ โดยชุมชนและเครือข่ายร่วมวางแผน ติดตามโดยชุมชน เช่น ประชุมสภาชุมชน ประชุมร่วมของชุมชนไทยพุทธ ไทยมุสลิม ประชุมกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตทุกภาคส่วน

 

  • ชุมชนจะต้องสร้างความเข้มแข็งในการจัดการตนเองโดยให้หน่วยบริการสุขภาพและเครือข่ายเป็นพี่เลี้ยง ตามความจำเป็น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนด้วยการติดตามการดำเนินงานในชุมชน และประชุมติดตามโดยทีมคณะทำงานทุกไตรมาส

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
  • แกนนำโครงการและชุมชนชุมชนทั้งไทยพุทธและมุสลิมเกิดความภาคภูมิใจในตนเองที่สามารถพัฒนาออกแบบการบริการสุขภาพสร้างการเปลี่ยนแปลงให้ระบบการบริการตั้งแต่ระดับหน่วยบริการสาธารณสุขพหุวัฒนธรรมที่มีความสุขสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ

 

  • ควรสร้างความเข้าใจในและนอกชุมชนให้เพิ่มขึ้นและพัฒนาระบบการบริการต้นแบบในสังคมพหุวัฒนธรรมทีมีความสุขต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ