การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1
ชื่อโครงการ การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
ชุมชน จังหวัดนราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562
รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤศจิกายน 2561 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2562
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงานเพื่อออกแบบการติดตาม |
||
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2561 เวลา น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
3 | 0 |
2. ลงพื้นที่ติดตามครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 26 พฤศจิกายน 2561 เวลา น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
2.1 กระบวนการพัฒนาระบบบริการ เริ่มจากหลักคิด ประชาชนคิด ประชาชนเป็นเจ้าของ และใช้แนวคิดนโยบายุขภาพวิธีธรรมจากกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 3 ส. 3 อ. 1 นมาปรับใช้ในการจัดการสุขภาพพหุวัฒนธรรม โดยวิถีอิสลามและวิธีพุทธนำมาใช้ในโรงพยาบาลรือเสาะและนำร่องชุมชนตำบลลาโละ และในสถานบริการโรงพยาบาลรือเสาะโดยเน้นในโรคเรื้อรัง ในเนื้อหาด้านมิติกรอบกิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย 2. ด้านปกป้องชีวิต สร้างนวตกรรมขับเคลือนด้วยกิจกรรม 3 อ ( อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) และ 1 น นาฬิกาชีวิต ซึ่งดำเนินการในโรคเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูง และความดัน กิจกรรม 3 อ มีกิจกรรม เมนูสุขภาพ การออกกำลังกายด้วยการป้่นจักยานในเจ้าหน้าที่ ส่วนกิจกรรม 1 น นาฬิกาชีวิต ยังไม่เห็นเป็นรูปธรรมในโรงพยาบาล 3. ด้านปกป้องสติปัญญา บุคลากรทางการแพทย์เป็นผู้ให้ข้อมูลที่สอดคล้องกับวิถีพุทธ วิถีอิสลาม โดยแกนนำเจ้าหน้าที่ อสมบ้านไทยสุข 4. ด้านปกป้องครอบครัว 2.2 ด้านระบบริการในโรงพยาบาล โรงพยาบาลรือเสาะได้อบรมทำความเข้าใจแนวคิด นโยบายสุขภาพดีวิถีธรรม กระทรวงสาธารณสุขโดยการใช้ 3 ส 3อ 1น วิถีพุทธวิถีอิสลามในกลุ่มเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลและรพ.สต.จำนวน 200 คน ที่สามารถเป็นแกนนำ สามารถเป็นพี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่ อื่น ๆ จำนวน 6 คน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
30 | 0 |
3. ลงพื้นที่ติดตามครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 23 ธันวาคม 2561 เวลา น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
160 | 0 |
4. ประชุมทีมติดตามประเมินเพื่อสรุปผลการติดตาม |
||
วันที่ 14 มกราคม 2562 เวลา น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง่ประชุมเพื่อสรุป โดยคืนข้อมูลการสรุปคุณค่า ซึ่งดำเนินกระบวนการโดบใช้กรอบคิดการติดตามแบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกัแบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพบการสร้างเสริมสุขภาพ ร่วมกับพื้นที่ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและเพิ่มเติมข้อมูลต่างๆจากพื้นที่ การสนทนาพูดคุยเป็นกันเอง และชุมชนร่วมให้คะแนนประเมินคุณค่าตนเอง ร่วมกับเจ้าหน้าที่ร่วมให้คะแนะประเมิน โดย มีรายละเอียดดังนี้
- การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
20 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ
ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการ | ทั้งหมด | ทำแล้ว | 10% | 20% | 30% | 40% | 50% | 60% | 70% | 80% | 90% | 100% |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การทำกิจกรรม | 5 | 4 | ✔ | |||||||||
การใช้จ่ายงบประมาณ | 20,000.00 | 18,000.00 | ✔ | |||||||||
คุณภาพกิจกรรม | 16 | 0 |
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)
ประเด็นปัญหา/อุปสรรค | สาเหตุเพราะ | แนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน |
---|---|---|
|
|
|
แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
(................................)
นายอาหามะ เจ๊ะโซะ, นางนิมลต์ หะยีนิมะ, นางเพียงกานต์ เด่นดารา
ผู้รับผิดชอบโครงการ