แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอละงู จังหวัดสตูล ”
อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ละอองพันธุ์ นางสาวอนัญญา แซะหลี นายเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวัน นางกัลยทรรศ ติ้งหวัง นางสาวนิษากร บุญช่วย นางชัญญานุช พุ่มพวง นางเกศวรางค์ สารบัญ นายตรา เหมโคกน้อย
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ที่อยู่ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอละงู จังหวัดสตูล
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) รวบรวมโครงการ/แผนงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะ 2) ประเมินติดตามโครงการบูรณาการ ฯ ด้วยเครื่องมือ HIA และ 3) เสนอแนะแนวทางการดำเนินงานเพื่อปรับปรุงพัฒนาโครงการบูรณาการ ฯ ตามกรอบ Ottawa Charter 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพคน สภาพแวดล้อม ระบบกลไก บูรณาการเสริมสร้างความเข้มเข็ง และการพัฒนานโยบายสาธารณะ โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและแบบสอบถาม โดยดำเนินการกับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ทีมวิชาการ ทีมผู้ประสานงาน ทีมพี่เลี้ยง คณะกรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบโครงการ และผู้เสนอโครงการ ผลการดำเนินงานพบว่า ด้านผลผลิต (Output) บรรลุผลในส่วนของกิจกรรมการดำเนินงานของทีมทำงาน/พี่เลี้ยงในพื้นที่เป้าหมาย (7ข้อตามกรอบโครงการบูรณาการ) และเกิดแผนงานครบ 5 ด้าน แนวโน้ม 3 ปี เป็นโครงการต่อเนื่อง มีการใช้ระบบติดตามประเมินผลออนไลน์ในกองทุน สามารถดูรายละเอียดโครงการผ่านระบบออนไลน์ได้ และมีการติดตามโครงการบางส่วนที่ปรากฏในระบบ รายละเอียดการเขียนข้อเสนอโครงการมากกว่าร้อยละ 90 ครบทุกประเด็นและสอดคล้องกันระหว่างประเด็นปัญหา วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด แต่ไม่มีการประเมินคุณค่าโครงการ ด้านผลลัพธ์ (outcome) พบว่า ไม่บรรลุผล กล่าวคือ พชอ. ยังไม่ได้แผนบูรณาการจำแนกตามประเด็นจากแผนของแต่ละกองทุน ยังไม่มีการดำเนินโครงการระดับอำเภอมีการบูรณาการร่วมกัน และ พชอ. ยังไม่มีฐานข้อมูลสถานการณ์และแผนงานระดับตำบลและอำเภอ และด้านผลกระทบ (Impact) พบว่าสถานการณ์ระบบสุขภาพชุมชนดีขึ้นเกิดการขยายผล ตื่นตัว และเปลี่ยนแปลงแนวคิด ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1) ถอดบทเรียน การจัดการความรู้จากผู้นำพี้เลี้ยงที่มีบทบาทสูงไปยังกลุ่มพี่เลี้ยงที่เข้ามาใหม่ ๆ เป็นประจำ และทำให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาศักยภาพคน 2) เสริมโครงการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงรุ่นใหม่ให้มีความรู้ความเข้าใจในระดับใกล้เคียงกันเพื่อร่วมผลักดันการเกิดโครงการที่มีประสิทธิภาพ 3) การใช้ประโยชน์ระบบประเมินผลออนไลน์เพื่อจัดเก็บข้อมูลในระบบ แต่ไม่ได้มีการสังเคราะห์ วิเคราะห์เพื่อนำไปต่อยอดในการพัฒนาโครงการใหม่ ๆ และไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ 4) ทบทวนระบบและกลไกที่เป็นส่วนเชื่อมต่อระหว่างตำบลสู่ระดับอำเภอ เนื่องจากปัจจุบันการเชื่อมโยงระหว่างตำบลสู่อำเภอยังไม่เกิดขึ้น จึงทำให้ไม่เกิดการบูรณาแผนในระดับอำเภอ 5) สร้างกลไกให้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในระดับอำเภอได้นำข้อมูลและโครงการที่เกิดขึ้นในระดับตำบล ทำให้เกิดแผนงานจากระดับล่างสู่ระดับบน และส่งต่อไปยังระดับจังหวัด 6) สร้างโมเดลตัวอย่างการจัดทำแผนจากระดับล่างสู่ระดับบน เป็นต้นแบบเฉพาะใน 1 ตำบลเพื่อให้เห็นรูปแบบการวางระบบและกลไกจากระดับล่างสู่ระดับบน เพื่อนำไปขยายผลต่อไป 7) ควรขับเคลื่อนแผนงานจากโครงการย่อยสู่โครงการใหญ่ และวางเป้าหมาย กำหนดตัวชี้วัดเพื่อตอบเป้าหมายเดียวกัน และ ควรมีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ในระดับอำเภอ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุนสุขภาพ
- เพื่อเพิ่มคุณภาพโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอละงู
- เพื่อเพิ่มการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล
- เพื่อให้เกิดการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญใน พชอ.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การสร้างทีมและพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงระดับพื้นที่
- การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรพัฒนาทีมพี่เลี้ยง
- พี่เลี้ยงพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน เรื่องการทำแผนสุขภาพและระบบติดตามประเมินผล
- ทีมประสานงานเขตประชุมร่วมเพื่อทำความเข้าใจกับ พชอ.
- พี่เลี้ยงลงสนับสนุนและทบทวนการทำแผน และการพัฒนาโครงการ
- การประเมินผลและติดตามโครงการกองทุนนำร่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
คณะกรรมการ พชอ.
20
คณะกรรมการกองทุน
100
หน่วยงานรับทุน องค์กรรับทุน
50
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนนำร่อง
10
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุนสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกองทุนสุขภาพตำบลอำเภอละงูที่มีแผนสุขภาพตำบลตามประเด็นปัญหาของพื้นที่
15.00
80.00
2
เพื่อเพิ่มคุณภาพโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอละงู
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่อง
30.00
90.00
3
เพื่อเพิ่มการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกองทุนที่มีการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล
10.00
80.00
4
เพื่อให้เกิดการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญใน พชอ.
ตัวชี้วัด : พชอ.เกิดการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญ
20.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
180
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
-
วัยเรียน (6-12 ปี)
-
วัยรุ่น (13-15 ปี)
-
เยาวชน (15-20 ปี)
-
วัยทำงาน
-
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
-
ผู้หญิง
-
มุสลิม
-
พระภิกษุ
-
ชาติพันธุ์
-
ผู้ต้องขัง
-
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
-
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
-
แรงงานข้ามชาติ
-
อื่น ๆ
-
คณะกรรมการ พชอ.
20
คณะกรรมการกองทุน
100
หน่วยงานรับทุน องค์กรรับทุน
50
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนนำร่อง
10
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมชาย ละอองพันธุ์ นางสาวอนัญญา แซะหลี นายเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวัน นางกัลยทรรศ ติ้งหวัง นางสาวนิษากร บุญช่วย นางชัญญานุช พุ่มพวง นางเกศวรางค์ สารบัญ นายตรา เหมโคกน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอละงู จังหวัดสตูล ”
อำเภอละงู จังหวัดสตูลหัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ละอองพันธุ์ นางสาวอนัญญา แซะหลี นายเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวัน นางกัลยทรรศ ติ้งหวัง นางสาวนิษากร บุญช่วย นางชัญญานุช พุ่มพวง นางเกศวรางค์ สารบัญ นายตรา เหมโคกน้อย
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ที่อยู่ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอละงู จังหวัดสตูล
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) รวบรวมโครงการ/แผนงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะ 2) ประเมินติดตามโครงการบูรณาการ ฯ ด้วยเครื่องมือ HIA และ 3) เสนอแนะแนวทางการดำเนินงานเพื่อปรับปรุงพัฒนาโครงการบูรณาการ ฯ ตามกรอบ Ottawa Charter 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพคน สภาพแวดล้อม ระบบกลไก บูรณาการเสริมสร้างความเข้มเข็ง และการพัฒนานโยบายสาธารณะ โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและแบบสอบถาม โดยดำเนินการกับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ทีมวิชาการ ทีมผู้ประสานงาน ทีมพี่เลี้ยง คณะกรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบโครงการ และผู้เสนอโครงการ ผลการดำเนินงานพบว่า ด้านผลผลิต (Output) บรรลุผลในส่วนของกิจกรรมการดำเนินงานของทีมทำงาน/พี่เลี้ยงในพื้นที่เป้าหมาย (7ข้อตามกรอบโครงการบูรณาการ) และเกิดแผนงานครบ 5 ด้าน แนวโน้ม 3 ปี เป็นโครงการต่อเนื่อง มีการใช้ระบบติดตามประเมินผลออนไลน์ในกองทุน สามารถดูรายละเอียดโครงการผ่านระบบออนไลน์ได้ และมีการติดตามโครงการบางส่วนที่ปรากฏในระบบ รายละเอียดการเขียนข้อเสนอโครงการมากกว่าร้อยละ 90 ครบทุกประเด็นและสอดคล้องกันระหว่างประเด็นปัญหา วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด แต่ไม่มีการประเมินคุณค่าโครงการ ด้านผลลัพธ์ (outcome) พบว่า ไม่บรรลุผล กล่าวคือ พชอ. ยังไม่ได้แผนบูรณาการจำแนกตามประเด็นจากแผนของแต่ละกองทุน ยังไม่มีการดำเนินโครงการระดับอำเภอมีการบูรณาการร่วมกัน และ พชอ. ยังไม่มีฐานข้อมูลสถานการณ์และแผนงานระดับตำบลและอำเภอ และด้านผลกระทบ (Impact) พบว่าสถานการณ์ระบบสุขภาพชุมชนดีขึ้นเกิดการขยายผล ตื่นตัว และเปลี่ยนแปลงแนวคิด ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1) ถอดบทเรียน การจัดการความรู้จากผู้นำพี้เลี้ยงที่มีบทบาทสูงไปยังกลุ่มพี่เลี้ยงที่เข้ามาใหม่ ๆ เป็นประจำ และทำให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาศักยภาพคน 2) เสริมโครงการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงรุ่นใหม่ให้มีความรู้ความเข้าใจในระดับใกล้เคียงกันเพื่อร่วมผลักดันการเกิดโครงการที่มีประสิทธิภาพ 3) การใช้ประโยชน์ระบบประเมินผลออนไลน์เพื่อจัดเก็บข้อมูลในระบบ แต่ไม่ได้มีการสังเคราะห์ วิเคราะห์เพื่อนำไปต่อยอดในการพัฒนาโครงการใหม่ ๆ และไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ 4) ทบทวนระบบและกลไกที่เป็นส่วนเชื่อมต่อระหว่างตำบลสู่ระดับอำเภอ เนื่องจากปัจจุบันการเชื่อมโยงระหว่างตำบลสู่อำเภอยังไม่เกิดขึ้น จึงทำให้ไม่เกิดการบูรณาแผนในระดับอำเภอ 5) สร้างกลไกให้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในระดับอำเภอได้นำข้อมูลและโครงการที่เกิดขึ้นในระดับตำบล ทำให้เกิดแผนงานจากระดับล่างสู่ระดับบน และส่งต่อไปยังระดับจังหวัด 6) สร้างโมเดลตัวอย่างการจัดทำแผนจากระดับล่างสู่ระดับบน เป็นต้นแบบเฉพาะใน 1 ตำบลเพื่อให้เห็นรูปแบบการวางระบบและกลไกจากระดับล่างสู่ระดับบน เพื่อนำไปขยายผลต่อไป 7) ควรขับเคลื่อนแผนงานจากโครงการย่อยสู่โครงการใหญ่ และวางเป้าหมาย กำหนดตัวชี้วัดเพื่อตอบเป้าหมายเดียวกัน และ ควรมีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ในระดับอำเภอ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุนสุขภาพ
- เพื่อเพิ่มคุณภาพโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอละงู
- เพื่อเพิ่มการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล
- เพื่อให้เกิดการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญใน พชอ.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การสร้างทีมและพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงระดับพื้นที่
- การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรพัฒนาทีมพี่เลี้ยง
- พี่เลี้ยงพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน เรื่องการทำแผนสุขภาพและระบบติดตามประเมินผล
- ทีมประสานงานเขตประชุมร่วมเพื่อทำความเข้าใจกับ พชอ.
- พี่เลี้ยงลงสนับสนุนและทบทวนการทำแผน และการพัฒนาโครงการ
- การประเมินผลและติดตามโครงการกองทุนนำร่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | ||
วัยทำงาน | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
ผู้พิการ | ||
ผู้หญิง | ||
มุสลิม | ||
พระภิกษุ | ||
ชาติพันธุ์ | ||
ผู้ต้องขัง | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | ||
แรงงานข้ามชาติ | ||
อื่น ๆ | ||
คณะกรรมการ พชอ. | 20 | |
คณะกรรมการกองทุน | 100 | |
หน่วยงานรับทุน องค์กรรับทุน | 50 | |
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนนำร่อง | 10 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุนสุขภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของกองทุนสุขภาพตำบลอำเภอละงูที่มีแผนสุขภาพตำบลตามประเด็นปัญหาของพื้นที่ |
15.00 | 80.00 | ||
2 | เพื่อเพิ่มคุณภาพโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอละงู ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่อง |
30.00 | 90.00 | ||
3 | เพื่อเพิ่มการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล ตัวชี้วัด : ร้อยละของกองทุนที่มีการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล |
10.00 | 80.00 | ||
4 | เพื่อให้เกิดการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญใน พชอ. ตัวชี้วัด : พชอ.เกิดการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญ |
20.00 | 100.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 180 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | - | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | - | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | - | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | - | ||
วัยทำงาน | - | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - | ||
คณะกรรมการ พชอ. | 20 | ||
คณะกรรมการกองทุน | 100 | ||
หน่วยงานรับทุน องค์กรรับทุน | 50 | ||
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนนำร่อง | 10 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมชาย ละอองพันธุ์ นางสาวอนัญญา แซะหลี นายเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวัน นางกัลยทรรศ ติ้งหวัง นางสาวนิษากร บุญช่วย นางชัญญานุช พุ่มพวง นางเกศวรางค์ สารบัญ นายตรา เหมโคกน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......