ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 5 (ประเมินจริง)

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ประเมินผลโครงการฯ ของทีมประเมิน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) อำเภอ (พชอ.) มีแผนการจัดระบบสุขภาพและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของอำเภอบ้านแหลม โดยเป็นแผนเชิงประเด็นที่รวบรวมจากแผนของกองทุนสุขภาพตำบล เป็นการบูรณาการแผนจัดการของกองทุน 10 ตำบล 2) แผนเชิงประเด็นของกองทุนแตละกองทุนมีโครงการที่มีคุณภาพดี และเป็นโครงการที่สามารถลดปัญหาสุขภาพได้ชัดเจน 3) มีระบบติดตามประเมินผลเพื่อปรับปรุง ทบทวนแผนและโครงการต่างๆ โดยใช้ OTTAWA CHATER เป็นกรอบการประเมิน 5 ด้าน ได้เเก่เหล้าบุหรี่ ยาเสพติด อุบัติเหตุ อาหารปลอดภัยเเละกิจกรรมทางกาย พบว่า ผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่เป็นบุคลากจากหน่วยงานท้องถิ่น เช่น ท้องถิ่น สสจ. สสอ. รพ.สต. โรงเรียน เเละเเกนนำเครือข่าย เป็นบุคลากรหลักในการนำเสนอเเผนงาน โครงการกองทุน เเละยกร่างเข้าที่ประชุมให้กับคณะบุคลที่ได้รับการสนับสนุนแผนงานกองทุนตำบล พบว่า
1.กิจกรรมส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมเดิมๆ ที่เคยทำมา เเละมีความต่อเนื่อง ร้อยละ 80
2.กลไกมีคณะกรรมในรูปแบบการจัดการที่ชัดเจนในระดับร้อยละ 70
3.กระบวนการมีความหลากหลายเเละมีส่วนร่วมนำสู่การปฏิบัติเเละสัมฤทธิ์ผลร้อยละ 70 4.วิธรการติดตามเเละประเมินผลยังคงเป็นรูปเเบบการประเมินตามกรอบโครงการขาดการมีส่วนร่วมเชิงรุก ร้อยละ 60 5.วิธีงบประมาณในการสนับสนุนค่อนข้างน้อยเเละมีระยะสั้นไม่สามารถตอบตัวชีวัดที่ปลายน้ำได้(คงเป็นไปตามกรอบการประเมินโครงการ)ร้อยละ 60

คำสำคัญ

บูรณาการความร่วมมือพื้นที่สาธารณะด้านสุขภาวะ

บทนำ

การดำเนินตามเเผนงานโครงการเป็นการประสานความร่วมมือระหว่างผู้ประสานงานเขต ทีมพี่เลี้ยง เชื่อมกับเเผนงาน พชอ.เเละมีกลุ่มเป้าหมาย 10 พื้นที่โดยมีการทำเวทีสร้างความเข้าใจร่วมกันตามวัตถุประสงค์เเละเป้าหมายของการประเมินให้เกิดประสิทธิภาพเเละประสิทธิผลของการขับเคลื่อนตลอดจนการรับฟังความคิดเห็นต่อเเนวทางการประเมิผลเพื่อร่วมกันผลักดันข้อเสนอเเนะเชิงนโยบายพื้นที่สาธารณะด้านสุขภาพโดยใช้เเบบการประเมินเเบบOTTAWA CHATER เเละการประเมินเเบบเสริมพลัง

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

check_circle

มีการประชุมร่วมกันของทีมประเมินจำนวน 3 ครั้งเพื่อวางเเผนการทำงาน การกำหนดขอบเขตการประเมิน เเละเเบ่งบทบาทหน้าที่ในการประเมิน ร่วมกันกลั่นกรอง กำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมิน เเละได้ประชุมร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคือสปสช.เขต 5 ราชบุรี เพื่อกำหนดพื้นที่ใหม่ในการประเมินเนื่องจากเดิมพื้นที่ที่รับผิดชอบคือพื้นที่จังหวัดนครปฐมเเละภายหลังมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่ใหม่โดยได้เลือกพื้นที่อำเภอบ้านเเหลม จังหวัดเพชรบุรี จึงได้ประชุมเพื่อชี้งเเจงทำความเข้าใจกับพื้นที่ถึงกรอบเเละวัตถุประสงค์ในการประเมินโดยได้เลือกใช้กรอบการประเมิน Ottawa charter

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
check_circle
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
check_circle
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
check_circle
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
check_circle
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
check_circle
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
check_circle
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
check_circle
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน
check_circle

1.1 ประชุมคณะทำงานประเมินจำนวน 6 คน เพื่อวางเเผนกำหนดบาทบาทหน้าที่รับผิดชอบ กำหนดกรอบระยะเวลาการทำงาน เเละกำหนดพื้นที่ เเละสังเคราะห์ข้อมูลร่วมกันจำนวน 5 ครั้ง 1.2 ประชุมร่วมกับทีม พชอ.ของสสอ. บ้านเเหลม ร่วมกับทีมประเมิน จำนวน 10 คน เมื่อวันที่ 17 ก.ค. 2563 1.3 ประชุมร่างขอบเขตการประเมินเบื้องต้นโดยมีขอบเขตในการประเมินเพื่อหนุนเสริมให้พื้นที่ที่ถูกประเมินมีศักยภาพในการทำงานที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่เเละพัฒนาองค์ความรู้เเละปรับปรุงเเนวทางในการทำงานร่วมกับทีมโครงการบูรณาการฯ เขต 5 ราชบุรี เมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2563 1.4 ประชุมออกเเบบเครื่องมือเพื่อใช้ในการประเมินโดยได้ชุดเครื่องมือเพื่อใช้ในการประเมิน ดังนี้ เเบบประเมินตนเองรายบุคคล เเบบประเมินกลุ่มพื้นที่ การสัมภาษณ์กลุ่มย่อยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.5 จัดเวทีติดตามประเมินกับกลุ่มเป้าหมาย 10 กองทุนเเละคณะทำงาน พชอ. จำนวน 30 คน เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2563 1.6 เวทีคืนข้อมูลให้กับพื้นที่ที่สนง.สสอ.บ้านเเหลม จำนวน 20 คน วันที่ 5 พ.ย. 2563

2) ประชุมร่วมกับโครงการ
check_circle

2.1 เชิญประชุมผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อร่วมพูดคุยถึงขอบเขตการประเมิน รายละเอียดโครงการ วัตถุประสงค์การทำโครงการร่วมกัน

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
check_circle

3.1 จัดประชุมผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ ได้เเก่ ผู้ประสานงานเขต (สปสช เขต 5 ราชบุรี) ทีมพี่เลี้ยง ผู้เเทน รพ.สต ตัวเเทนกองทุนตำบล ตัวเเทน พอช.
3.2 ประชุมร่วมกับเครือข่ายชุมชน 3.3 จัดประชุมกลุ่มย่อยเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้อง

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)
check_circle

4.1 สังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร 4.2 บันทึกข้อมูลลงระบบ 4.3 สรุปรายงานเป็นรูปเล่ม 4.4 จัดเวทีคืนข้อมูลให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)
check_circle

1.เเบบสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อให้ทราบถึงข้อมูลรายละเอียดของโครงการ เช่น เพราะเหตุใดถึงมาร่วมโครงการนี้ เเล้วคุณค่าที่จะเกิดขึ้นคืออะไร 2.เเนวคำถามปลายเปิดเพื่อให้ทราบถึงปัญหาอุปสรรคเเละเเนวทางในการดำเนินงานในอนาคตรวมถึงเเนวทางในการพัฒนาในการทำงาน เช่น อธิบายความจำเป็นในการทำโครงการว่ามีความจำเป็นมากน้อยเพียงใด ส่งผลอย่างไร

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง
check_circle

ได้ขอบเขตการประเมินที่สอดคล้องกับโครงการเเละบริบทของพื้นที่

2. การกำหนดขอบเขต

check_circle

ประเมินกระบวนการทำงาน ตลอดจนผลลัพธ์ที่ได้ มีความสอดคล้องเเละคุ้มค่ากับงบประมาณหรือไม่ เเละผลลัพธ์ที่ได้ส่งผลต่อเนื่องอย่างไร ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ เเละเเนวทางในการพัฒนาในอนาคต

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต
check_circle

1.1 ศึกษาข้อมูลโครงการบูรณาการฯ เพื่อสังเคราะห์ขอบเขตของโครงการ 1.2 กลุ่มเป้าหมายของพื้นที่กองทุน 10 ตำบล และกรอบร่างการประเมิน 1.3 ผู้มีได้ส่วนเสียประชุมร่วมกันเพื่อสร้างความเข้าใจเเละพิจารณาขอบเขตการประเมิน 1.4 ขอบเขตการประเมินที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต
check_circle

1.ทีมประเมิน 2.ทีมพี่เลี้ยงเขต 3.ทีม พชอ.บ้านเเหลม 4.เเกนนำพื้นที่

3) เครื่องมือที่ใช้
check_circle

1.เเบบสัมภาษณ์ 2.เเนวคำถามปลายเปิด 3.สังเคราะห์ข้อมูลโครงการ

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
check_circle
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
ศักยภาพคน
  1. กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการดูเเลสุขภาพดีขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรม
  1. เวทีทำความเข้าใจงานประเมินผล
  2. สนทนากลุ่มย่อย
  3. เเบบสัมภาษณ์เเละเเบบประเมิน
  1. สสอ.,พชอ.,รพ.สต,อสม.,สถานศึกษา,แกนนำชุมชน,กลุ่มเป้าหมาย,ผู้เสนอโครงการ
ชุมชนเข้มเเข็ง
  1. เกิดกลุ่มพัฒนาด้านสุขภาวะที่หลากหลาย
  2. เกิดศูนย์การเรียนรู้ชุมชนด้านสุขภาพ
  1. มีการดำเนินกิจกรรมเเละสถานที่ดำเนินกิจกรรม
  2. มีระบบบริการจัดการของศูนย์การเรียนรู้อย่างชัดเจน
  1. สสอ.,พชอ.,รพ.สต,อสม.,สถานศึกษา,แกนนำชุมชน,กลุ่มเป้าหมาย,ผู้เสนอโครงการ
นโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ
  1. มีข้อตกลงท้องถิ่นในการดำเนินกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน
  1. มีการประกาศหรือบันทึกความตกลงร่วมมือ
  1. สสอ.,พชอ.,รพ.สต,อสม.,สถานศึกษา,แกนนำชุมชน,กลุ่มเป้าหมาย,ผู้เสนอโครงการ
สภาพเเวดล้อม
  1. ภาคีอื่นๆที่นอกเหนือไปจากกลุ่มเป้าหมายรับรู้เเละมีส่วนร่วมในกระบวนการเเละกิจกรรม
  1. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของภาคีต่างๆ
  2. รายงานกิจกรรม
  3. การสัมภาษณ์เชิงลึก
  1. สสอ.,พชอ.,รพ.สต,อสม.,สถานศึกษา,แกนนำชุมชน,กลุ่มเป้าหมาย,ผู้เสนอโครงการ
กลไกการบริหารจัดการ
  1. มีผู้รับผิดชอบโครงการอย่างชัดเจน
  2. มีการเเบ่งบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน
  3. มีการประชุมอย่างต่อเนื่อง
  1. รายงานการประชุม
  2. การสัมภาษณ์
  1. สสอ.,พชอ.,รพ.สต,อสม.,สถานศึกษา,แกนนำชุมชน,กลุ่มเป้าหมาย,ผู้เสนอโครงการ
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
check_circle
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

check_circle

ประชุมชี้เเจงทำความเข้าใจเเละเเจ้งวัตถุประสงค์เเละเป้าหมายในการประเมิน รวมถึงกระบวนการที่ใช้ เเละกำหนดการของเวที

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)
check_circle

เก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกระดับ ได้เเก่ ผู้รับทุน พี่เลี้ยงเขต สสอ. พชอ. เเละแกนนำในพื้นที่ โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก ประกอบกับเเบบสอบถามรายบุคคล

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)
check_circle

2.1 เวทีประชุมเพื่อสังเคราะห์ข้อมูล 2.2 เเลกเปลี่ยน มุมมอง ของผู้ประเมินเเต่ละคน
2.3 สรุปผลการสังเคราะห์เเละบันทึกลงระบบ เเละจัดทำรายงานรูปเล่ม

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)
check_circle

ทีมประเมินจากสมาคมสหภาคีเพื่อผู้บริโภคจังหวัดนครปฐม

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
check_circle
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
1. ศักยภาพคน (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการดูเเลสุขภาพดีขึ้น

มีการบันทึกข้อมูลสุขภาพอย่างต่อเนื่องของกลุ่มเป้าหมาย

 

2. ศักยภาพคน (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมครบจำนวนของกลุ่มเป้ามหายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

 

3. ชุมชนเข้มเเข็ง (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) เกิดกลุ่มพัฒนาด้านสุขภาวะที่หลากหลาย

เกิดการต่อยอดขยายผล กับแผนงานโครงการฯอื่นๆ

 

4. ชุมชนเข้มเเข็ง (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) เกิดศูนย์การเรียนรู้ชุมชนด้านสุขภาพ

เกิดนวัตกรรมด้านจัดการสุขภาพ ที่ตำบลท่าแร้งออก

 

5. นโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) มีข้อตกลงท้องถิ่นในการดำเนินกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน

มีข้อเสนอแนะให้มีการจัดทำธรรมนูญสุขภาพในระดับตำบล และเชิงประเด็น

 

6. สภาพเเวดล้อม (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) ภาคีอื่นๆที่นอกเหนือไปจากกลุ่มเป้าหมายรับรู้เเละมีส่วนร่วมในกระบวนการเเละกิจกรรม

การจัดการขยะ การปรับภูมิทัศน์ ตลอดจนการสร้างบรรยากาศแวดล้อมด้วยจัดประชุมแบบเอื้ออำนวยให้เกิดการแลกเปลี่ยนรู้ที่เหมาะสม และเป็นกันเอง

 

7. กลไกการบริหารจัดการ (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) มีผู้รับผิดชอบโครงการอย่างชัดเจน

เป็นผู้เขียนและนำเสนอแผนงานโครงการฯ

 

8. กลไกการบริหารจัดการ (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) มีการเเบ่งบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน

สามารถปฏิบัติการได้ตามหน้าที่ที่รับมอบหมายได้อย่างมีคุณภาพ และบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ ได้ในระดับหนึ่ง

 

9. กลไกการบริหารจัดการ (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) มีการประชุมอย่างต่อเนื่อง

มีวิธีการและขั้นตอนของการดำเนินงาน และการปรับสถานการณ์ที่เหมาะสม

 

5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

check_circle

เชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ถูกประเมิน ร่วมทบทวนร่างรายงานการประเมิน เเละเเก้ไขเสนอเพิ่มเติมในส่วนที่ขาดหาย

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน
check_circle

นำข้อมูลมาสังเคราะห์ในแต่ละประเด็น ว่าครบสมบูรณ์ พร้อมกับการปรับข้อมูลอย่างรอบด้าน ตามกรอบการประเมิน เพื่อจัดทำรูปแล่ม ในการคืนข้อมูลโดยนำร่างผลการประเมินมาเเลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่เป้าหมาย

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน
check_circle

ทีมประเมิน เเละตัวเเทนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
check_circle
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
1. ศักยภาพคน (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการดูเเลสุขภาพดีขึ้น

เอกสารข้อมูลในเอกสารรายงานของทุกกลุ่มเป้าหมาย

 

2. ศักยภาพคน (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วม ในการจัดเวทีและการจัดกิจกรรม พร้อมภาพประกอบ และใบลงทะเบียน

 

3. ชุมชนเข้มเเข็ง (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) เกิดกลุ่มพัฒนาด้านสุขภาวะที่หลากหลาย

เกิดการบูรณาการ และแผนโครงการอื่นๆ เช่น โครงการโนด สสส. และอื่นๆ เครือข่ายองค์กรงดเหล้า

 

4. ชุมชนเข้มเเข็ง (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) เกิดศูนย์การเรียนรู้ชุมชนด้านสุขภาพ

มีผู้มาศึกษาดูงาน

 

5. นโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) มีข้อตกลงท้องถิ่นในการดำเนินกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน

เกิดการรับรู้ และสานต่อข้อตกลงร่วม

 

6. สภาพเเวดล้อม (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) ภาคีอื่นๆที่นอกเหนือไปจากกลุ่มเป้าหมายรับรู้เเละมีส่วนร่วมในกระบวนการเเละกิจกรรม

เห็นได้จากบรรยากาศการทำงานร่วม และมีกัลยาณมิตร รับฟังอย่างลุ่มลึก โดยเห็นประโยชน์ร่วมของชุมชนเป็นตัวตั้ง

 

7. กลไกการบริหารจัดการ (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) มีผู้รับผิดชอบโครงการอย่างชัดเจน

สามารถสื่อสาร และตอบข้อซักถามได้ตรงแผน โครงการฯ

 

8. กลไกการบริหารจัดการ (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) มีการเเบ่งบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน

บางโครงการ และผู้รับผิดชอบทำหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ถึงมาก

 

9. กลไกการบริหารจัดการ (1) ใช้กรอบ Ottawa charter) มีการประชุมอย่างต่อเนื่อง

มีการประชุมตามแผนงานโครงการ ได้ในระดับหนึ่ง ด้วยมีระยะห่างจากสถานการณ์ โควิด 19

 

5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

check_circle

ออกรายงานฉบับสมบูรณ์ในระบบออนไลน์

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ
check_circle

1.ควรมีการประสานทำความเข้าใจหรือมีเเนวทางสร้างความเข้าใจอย่างต่อเนื่องระหว่างทีมโครง ทีมพี่เลี้ยงเขต พชอ. เเละทีมประเมิน เเละทบทวนการทำงานร่วมกัน 2.ควรมีการจัดสรรงบประมาณที่สอดคล้องเเละเหมาะสม เเละเเจ้งล่วงหน้าก่อนการเปลี่ยนเเปลงพื้นที่ 3.เป็นโครงการที่ดีควรมีการทำเเบบต่อเนื่องเพื่อยกระดับความรู้ในการใช้เครื่องมือเพื่อการติดตามเเละประเมินผลเเละหลายโครงการในประเทศมีข้อจำกัดในเรื่องของการติดตามเเละประเมินผลที่ต่อเนื่อง(ก่อน ดำเนินการ สิ้นสุดโครงการฯ)ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำเพื่อให้เกิดความชัดเจนยิ่งขึ้น

2) อื่นๆ
check_circle

พื้นที่เสนอทีมเครือข่ายพื้นที่ ทีมพี่เลี้ยงเขต ทีมประเมิน เเละทีม พชอ.เห็นพ้องต้องกันว่า ควรนำเครื่องมือโปรเเกรมต่างๆที่มีอยู่มาออกกเเบบเเละวางเเผนร่วมกัน

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

check_circle

มีการทบทวนโครงการเเละควรมีเเผนยุทธศาสตร์การทำงานร่วมกันโดยอ้างอิงสถานการณ์ด้านสุขภาวะ เเละควรเป็นโครงการระยะยาว

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ
check_circle

เวทีติดตามทุกๆ3เดือน เเละมีเวทีเเลกเปลี่ยนเรียนรู้

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ
check_circle

2.1 จัดเวทีการประชุม 2.2 สนธนากลุ่มย่อย

3) อื่นๆ
check_circle

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

ผลการดำเนินงานครอบถ้วนตามกรอบ โดยการประสานความร่วมมือกับ พชอ. และภาคีการมีส่วนร่วมอย่างขัดเจน อาทิ สสอ. พชอ. ผู้เขียนข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุน, คณะทำงานโครงการกองทุุน, ทีมพี่เลี้ยง, ผู้ประสานงานเขต,ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่

เอกสารอ้างอิง

แผนงานโครงการกองทุนสุขภาพตำบลอำเภอบ้านแหลม / สรุปรายงาน บางส่วน 10 กองทุน/ทฤษฎีการเมิน OTTAWA CHATER เเละ CIPP

เอกสารประกอบโครงการ