ชื่อโครงการ | โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชนเขต 4 อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี (ประเมินจริง) |
รหัสโครงการ | xxx |
วันที่อนุมัติ | 5 สิงหาคม 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 5 สิงหาคม 2563 - 31 กรกฎาคม 2564 |
งบประมาณ | 124,396.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ผู้ประสานงานเขต 4 ทีมพี่เลี้ยง (อ.ประเสริฐ เล็กสรรเสริญ) |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | อ.ประเสริฐ เล็กสรรเสริญ |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | คุณจิระเดช ทองเรือง |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 13.847448,100.361476place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 5 ส.ค. 2563 | 31 ก.ค. 2564 | 124,396.00 | |||
รวมงบประมาณ | 124,396.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของกองทุนสุขภาพตำบลอำเภอบางใหญ่มีแผนสุขภาพจำแนกตามประเด็นปัญหาของพื้นที่ 5 ประเด็นหลัก | 0.00 | ||
2 | ร้อยละของโครงการที่ดีที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอบางใหญ่ | 0.00 | ||
3 | ร้อยละของกองทุนสุขภาพตำบลอำเภอบางใหญ่ใช้ระบบการประเมินผลโครงการผ่านออนไลน์ | 0.00 | ||
4 | การกำหนดแผนสุขภาพ 5 ประเด็นหลักในพชอ.บางใหญ่ | 2.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การดำเนินการพัฒนาความร่วมมือของกลไกที่มีอยู่ในระบบสุขภาพชุมชน ทั้งของ สธ. ในส่วนกลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล กลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ของสปสช.และ กลไกสุขภาพภายใต้การดำเนินงานของสสส. ในการดำเนินงานในพื้นที่ให้ครอบคลุม77จังหวัดรวมทั้งท้องถิ่นที่รับการถ่ายโอน รพ.สต. 51 แห่ง โดยใช้ฐานทุนเดิมของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ที่มีอยู่ในทุกตำบล ร่วมกับกลไกต่างๆในทุกพื้นที่ที่ทำงานใกล้ชิดกับประชาชน จะช่วยเพิ่มจำนวนพี่เลี้ยงขยายพื้นที่การประสานการทำงานร่วมกัน เพิ่มศักยภาพของโครงการการดำเนินงานในระบบสุขภาพชุมชน ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้นอย่างทั่วถึง และครอบคลุม ภายใต้การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ในปี 2562-2563 โดยการสานพลังการทำงานร่วมกันของ สสส. สปสช.และสธ. ในโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที มีเป้าหมาย 2 ประเด็นหลัก คือ 1) การพัฒนาศักยภาพทีมกลไกร่วมของสสส. สปสช.และสธ.ในการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับพื้นที่ และ2) การดำเนินงานพื้นที่ต้นแบบสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โครงการดังกล่าวจะเป็นการเสริมพลังการทำงานร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ช่วยลดความซ้ำซ้อนของการทำงาน สามารถขยายขอบเขตพื้นที่การทำงานได้กว้างขึ้นภายใต้งบประมาณที่จำกัดอันจะนำไปสู่ความครอบคลุมการพัฒนาศักยภาพของประชาชนในพื้นที่ จนกลายเป็นทุนทรัพยากรมนุษย์ในการสร้างสังคมสุขภาวะ และระบบสุขภาพชุมชนที่เข้มแข็งในอนาคตนอกจากนี้สาระของหลักสูตรที่ใช้ในการพัฒนาศักยภาพกลไกพี่เลี้ยงในพื้นที่ ในประเด็นกิจกรรมทางกาย และประเด็นอื่น เช่น อาหาร การจัดการปัจจัยเสี่ยง รวมทั้งประเด็นตามพื้นที่ที่ได้รับการพัฒนาสามารถนำไปขยายผลเป็นหลักสูตรในการดำเนินงานของThai Health Academy ต่อไปได้อีกด้วย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอบางใหญ่มีแผนสุขภาพจำแนกตามประเด็นปัญหาของพื้นที่ 5 ประเด็นหลักเพิ่มขึ้น ร้อยละของกองทุนสุขภาพตำบลอำเภอบางใหญ่ที่มีแผนสุขภาพจำแนกตามประเด็นปัญหาของพื้นที่ 5 ประเด็นหลัก |
50.00 | |
2 | มีโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอบางใหญ่เพิ่มขึ้น ร้อยละของโครงการที่มีคุณภาพได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอบางใหญ่ |
20.00 | |
3 | มีการติดตามประเมินผลกองทุนสุขภาพตำบลผ่านระบบออนไลน์ ร้อยละของกองทุนตำบลมีการติดตามประเมินผลผ่านระบบออนไลน์ |
30.00 | |
4 | พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. จำนวนกลไกที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ต่อการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. |
8.00 | |
5 | ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) จำนวนพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ |
8.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | - | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | - | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | - | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | - | ||
วัยทำงาน | - | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 187 | 124,396.00 | 3 | 80,396.00 | |
12 ก.พ. 63 | การประชุมเชิงปฎิบัติการโครงการบูรณาการการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับพื้นที่ | 82 | 68,246.00 | ✔ | 68,246.00 | |
31 ก.ค. 63 | ประชุมเชิงปฎิบัติการสร้างเสริมศักยภาพในการจัดทำแผนงาน/โครงการฯ จังหวัดนนทบุรี | 30 | 12,150.00 | ✔ | 12,150.00 | |
17 ส.ค. 63 | ประชุมติดตามความก้าวหน้าการบันทึก แผนงาน/โครงการ อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี ครั้งที่1 | 25 | 14,000.00 | ✔ | 0.00 | |
14 ต.ค. 63 | ประชุมติดตามความก้าวหน้าการบันทึก แผนงาน/โครงการ อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี ครั้งที่2 | 25 | 15,000.00 | - | ||
28 ต.ค. 63 | ประชุมติดตามความก้าวหน้าการบันทึก แผนงาน/โครงการ อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี ครั้งที่3 | 25 | 15,000.00 | - |
1.การประชุมเชิงปฎิบัติการโครงการบูรณาการการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับพื้นที่ 2.ประชุมเชิงปฎิบัติการสร้างเสริมศักยภาพในการจัดทำแผนงาน/โครงการฯ จังหวัดนนทบุรี 3.ประชุมติดตามความก้าวหน้าการบันทึก แผนงาน/โครงการ อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี จำนวน 3 ครั้ง
1.กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอบางใหญ่มีแผนสุขภาพจำแนกตามประเด็นปัญหาของพื้นที่ 5 ประเด็นหลักเพิ่มขึ้น 2.มีโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอบางใหญ่เพิ่มขึ้น 3.มีการติดตามประเมินผลกองทุนสุขภาพตำบลผ่านระบบออนไลน์ 4.พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. 5.ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 มี.ค. 2563 09:50 น.