ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 9 อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ (ติดตามประเมินผล)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 9 อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ (ติดตามประเมินผล) ”

จังหวัดสุรินทร์

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 9 อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ (ติดตามประเมินผล)

ที่อยู่ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัด สุรินทร์

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 9 อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ (ติดตามประเมินผล) จังหวัดสุรินทร์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสุรินทร์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 9 อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ (ติดตามประเมินผล)



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับ พชอ.และพื้นที่ เกี่ยวกับกรอบการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในการประยุกต์ใช้พิจารณาโครงการในพื้นที่ประเมินกระบวนการมีส่วนร่วมของบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย แผนงาน โครงการที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ประเมินกระบวนการของ พชอ.ในการหนุนเสริมสาธารณะได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพิจารณากลั่นกรองโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ประเมินกระบวนการกำหนดขอบเขตและจัดทำตัวชี้วัดผลการสร้างเสริมสุขภาพด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมแบบสาธารณะ   ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1.คน คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น พื้นที่อำเภอเมืองสุรินทร์ และภาคีเครือข่าย 22 กองทุนได้รับการเสริมศักยภาพ และรับรู้ถึงการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพทั้ง 6 ขั้นตอน มีการฝึกทักษะการรายงานผลโครงการผ่านโปรแกรมออนไลน์ของโครงการสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ แต่การนำขั้นตอนการประเมินทั้ง 6 ขั้นตอน ยังไม่มีทักษะด้านทัศนคติของพี่เลี้ยง แกนนำ ต่อการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ เห็นว่ากระบวนการขั้นตอนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพดีมีประโยชน์หากนำไปสู่การนำไปปฏิบัติได้จริง แต่ ด้วยการประเมินนี้เป็นเนื้อหาใหม่จึงไม่ความเข้าใจและประสบการณ์ในการนำไปใช้ 2.ระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับแผนงานโครงการในระบบโปรแกรมออนไลน์ของ สสส. ยังคงต้องมีการกระตุ้นและติดตามการทำงานอย่างต่อเนื่อง ความร่วมมือของภาคี ในภาพร่วมจากการลงพื้นที่พบว่า กลไก พชอ. ระดับพื้นที่ยังมีการทำงานแบบบูรณาการและมีส่วนร่วมไม่มากพอ ส่งผลให้การดำเนินนโยบายตามแผนงานโครงการไม่ครบคลุมกองทุน 22 กองทุน กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในระดับพื้นที่กองทุน มีความสอดคล้องกับแผนงานดำเนินงานของพชอ. แต่ยังไม่ครบคลุม 22 กองทุน แผนงาน โครงการ นโยบายที่สอดคล้องกับพื้นที่ จำนวน 4 แผนงาน ได้แก่ การป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า การป้องกันอุบัติเหตุทางท้องถนน การป้องกันปัญหายาเสพติด และด้านอาหารปลอดภัย และแผนงานพิเศษ คือ โรคไข้เลือดอออก 3. งบประมาณในการสนับสนุนการดำเนินโครงการตามแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ มีการใช้งบประมาณดำเนินกิจกรรมโครงการในระดับพื้นที่ ทั้ง 4 แผนงาน ของการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับอำเภอ (พชอ.) ได้แก่ ด้านอาหารมีพื้นที่ต้นแบบ 1 ตำบล ด้านการป้องกันยาเสพติด ดำเนินงานด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพ เข้ารับการบำบัดรักษาเป็นประชากรกลุ่มเยาวชนอายุระหว่าง 18–24 ปีร้อยละ 43.88 มีจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพระบบ บำบัดรักษาขยายศักยภาพของการบำบัดรักษาและลดจำนวนผู้เสพเข้าสู่เรือนจำ พัฒนาแนวทางเพื่อลดผลกระทบ ต่อสังคม เน้นเป็นการดูแลสุขภาพและสังคม เป็นแนวปฏิบัติในการลดผลกระทบจากปัญหายาเสพติด ปรับมุมมองผู้เสพผู้ติดยาเสพติด คือ “ผู้ป่วย” ที่ต้องได้รับการรักษาภายใต้หลักการ “เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้ ” สนับสนุนโครงการพระราชดำริ TO BE NUMBER ONE การจัดการงบประมาณ ระเบียบปฏิบัติและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านอุบัติเหตุทางถนน มีการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงและวิเคราะห์จุดเสี่ยงในพื้นที่ 33 จุดเสี่ยงมีการกำหนดช่วงเวลาการดำเนินการ 2 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 มีการเตรียมความพร้อมและช่วงการรณรงค์ ช่วงที่ 2 มีการควบคุมเข้มข้น ในช่วงเทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ และมีการสนับสนุนการดำเนินการ ร่วมดำเนินมาตรการชุมชน และ “ด่านชุมชน” ให้ บุคลากรสาธารณสุข/อสม. อปท. ด้านโรคพิษสุนัขบ้า การฉีดวัคซีนป้องกันโรคในสัตว์ โดยอปท. มีความครอบคลุมเกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบติดตามผู้สัมผัสให้ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามกำหนด โดยมีแผนพัฒนางานด้าน Health Literacy 4.ทรัพยากรสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนงานด้วยการสนับสนุนรถยนต์ เครื่องเสียงให้กับกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ชุมชน ในการออกรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และพัฒนาศักยภาพบุคลากรคณะกรรมการกองทุนในการพัฒนาโครงการและการติดตามรายงานโครงการผ่านระบบไลน์ 5.ทุนทางสังคม โครงการกองทุนตำบลเป็นหนึ่งในแผนคณะกรรมการพชอ.ในการสนับสนุนโครงการ และประชาชนในพื้นที่พร้อมให้การสนับสนุนทุกรูปแบบ จึงได้มีการจัดทำโครงการบูรณาการกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน การเข้าถึงประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การคัดเลือกพื้นที่เพื่อเป็นพื้นที่นำร่องในการใช้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ควรมีผู้รู้ หรือมีหน้าที่บทบาทเกี่ยวข้องกับกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาวะ ร่วมถึงเข้าใจหรือมีประสบการณ์ เข้ามาเป็นแกนหลักสำคัญในการพัฒนาพื้นที่เกิดกระบวนการพัฒนาข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพและการใช้ระบบการติดตามและประเมินผลโครงการให้สอดคล้องกับแผนการสร้างเสริมสุขภาวะของ สสส. สปสช. และ สธ. ภายใต้ระเบียบของกองทุน (2) กลไกพี่เลี้ยงระดับเขตควรมีแนวปฏิบัติร่วมกันในการขับเคลื่อนงานและการเชื่อมประสานกับกลไกระดับพื้นที่เกี่ยวกับการทำงานแบบบูรณาการในการใช้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในการพัฒนาข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพและการใช้ระบบการติดตามและประเมินผลโครงการให้สอดคล้องกับแผนการสร้างเสริมสุขภาวะของ สสส. สปสช. และ สธ. ภายใต้ระเบียบของกองทุน (3) ควรนำกองทุนระดับพื้นที่เข้ามาพัฒนาศักยภาพในการใช้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเป็นเครื่องมือในการพัฒนาข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพและการใช้ระบบการติดตามและประเมินผลโครงการให้สอดคล้องกับแผนการสร้างเสริมสุขภาวะของ สสส. สปสช. และ สธ. ภายใต้ระเบียบของกองทุน (4) ปรับแบบฟอร์มในการคีย์ข้อมูล ให้มีการบูรณาการเข้าร่วมกัน เพื่อลดความซ้ำซ้อนและควรมีการแชร์ข้อมูลให้สามารถลิงค์กันได้

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    ปฐมวัย (0-5 ปี)
    วัยเรียน (6-12 ปี)
    วัยรุ่น (13-15 ปี)
    เยาวชน (15-20 ปี)
    วัยทำงาน
    ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    ผู้พิการ
    ผู้หญิง
    มุสลิม
    พระภิกษุ
    ชาติพันธุ์
    ผู้ต้องขัง
    หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
    กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
    แรงงานข้ามชาติ
    อื่น ๆ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    ปฐมวัย (0-5 ปี) -
    วัยเรียน (6-12 ปี) -
    วัยรุ่น (13-15 ปี) -
    เยาวชน (15-20 ปี) -
    วัยทำงาน -
    ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    ผู้พิการ -
    ผู้หญิง -
    มุสลิม -
    พระภิกษุ -
    ชาติพันธุ์ -
    ผู้ต้องขัง -
    หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
    กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
    แรงงานข้ามชาติ -
    อื่น ๆ -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับ พชอ.และพื้นที่ เกี่ยวกับกรอบการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในการประยุกต์ใช้พิจารณาโครงการในพื้นที่ประเมินกระบวนการมีส่วนร่วมของบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย แผนงาน โครงการที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ประเมินกระบวนการของ พชอ.ในการหนุนเสริมสาธารณะได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพิจารณากลั่นกรองโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ประเมินกระบวนการกำหนดขอบเขตและจัดทำตัวชี้วัดผลการสร้างเสริมสุขภาพด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมแบบสาธารณะ   ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1.คน คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น พื้นที่อำเภอเมืองสุรินทร์ และภาคีเครือข่าย 22 กองทุนได้รับการเสริมศักยภาพ และรับรู้ถึงการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพทั้ง 6 ขั้นตอน มีการฝึกทักษะการรายงานผลโครงการผ่านโปรแกรมออนไลน์ของโครงการสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ แต่การนำขั้นตอนการประเมินทั้ง 6 ขั้นตอน ยังไม่มีทักษะด้านทัศนคติของพี่เลี้ยง แกนนำ ต่อการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ เห็นว่ากระบวนการขั้นตอนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพดีมีประโยชน์หากนำไปสู่การนำไปปฏิบัติได้จริง แต่ ด้วยการประเมินนี้เป็นเนื้อหาใหม่จึงไม่ความเข้าใจและประสบการณ์ในการนำไปใช้ 2.ระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับแผนงานโครงการในระบบโปรแกรมออนไลน์ของ สสส. ยังคงต้องมีการกระตุ้นและติดตามการทำงานอย่างต่อเนื่อง ความร่วมมือของภาคี ในภาพร่วมจากการลงพื้นที่พบว่า กลไก พชอ. ระดับพื้นที่ยังมีการทำงานแบบบูรณาการและมีส่วนร่วมไม่มากพอ ส่งผลให้การดำเนินนโยบายตามแผนงานโครงการไม่ครบคลุมกองทุน 22 กองทุน กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในระดับพื้นที่กองทุน มีความสอดคล้องกับแผนงานดำเนินงานของพชอ. แต่ยังไม่ครบคลุม 22 กองทุน แผนงาน โครงการ นโยบายที่สอดคล้องกับพื้นที่ จำนวน 4 แผนงาน ได้แก่ การป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า การป้องกันอุบัติเหตุทางท้องถนน การป้องกันปัญหายาเสพติด และด้านอาหารปลอดภัย และแผนงานพิเศษ คือ โรคไข้เลือดอออก 3. งบประมาณในการสนับสนุนการดำเนินโครงการตามแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ มีการใช้งบประมาณดำเนินกิจกรรมโครงการในระดับพื้นที่ ทั้ง 4 แผนงาน ของการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับอำเภอ (พชอ.) ได้แก่ ด้านอาหารมีพื้นที่ต้นแบบ 1 ตำบล ด้านการป้องกันยาเสพติด ดำเนินงานด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพ เข้ารับการบำบัดรักษาเป็นประชากรกลุ่มเยาวชนอายุระหว่าง 18–24 ปีร้อยละ 43.88 มีจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพระบบ บำบัดรักษาขยายศักยภาพของการบำบัดรักษาและลดจำนวนผู้เสพเข้าสู่เรือนจำ พัฒนาแนวทางเพื่อลดผลกระทบ ต่อสังคม เน้นเป็นการดูแลสุขภาพและสังคม เป็นแนวปฏิบัติในการลดผลกระทบจากปัญหายาเสพติด ปรับมุมมองผู้เสพผู้ติดยาเสพติด คือ “ผู้ป่วย” ที่ต้องได้รับการรักษาภายใต้หลักการ “เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้ ” สนับสนุนโครงการพระราชดำริ TO BE NUMBER ONE การจัดการงบประมาณ ระเบียบปฏิบัติและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านอุบัติเหตุทางถนน มีการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงและวิเคราะห์จุดเสี่ยงในพื้นที่ 33 จุดเสี่ยงมีการกำหนดช่วงเวลาการดำเนินการ 2 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 มีการเตรียมความพร้อมและช่วงการรณรงค์ ช่วงที่ 2 มีการควบคุมเข้มข้น ในช่วงเทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ และมีการสนับสนุนการดำเนินการ ร่วมดำเนินมาตรการชุมชน และ “ด่านชุมชน” ให้ บุคลากรสาธารณสุข/อสม. อปท. ด้านโรคพิษสุนัขบ้า การฉีดวัคซีนป้องกันโรคในสัตว์ โดยอปท. มีความครอบคลุมเกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบติดตามผู้สัมผัสให้ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามกำหนด โดยมีแผนพัฒนางานด้าน Health Literacy 4.ทรัพยากรสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนงานด้วยการสนับสนุนรถยนต์ เครื่องเสียงให้กับกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ชุมชน ในการออกรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และพัฒนาศักยภาพบุคลากรคณะกรรมการกองทุนในการพัฒนาโครงการและการติดตามรายงานโครงการผ่านระบบไลน์ 5.ทุนทางสังคม โครงการกองทุนตำบลเป็นหนึ่งในแผนคณะกรรมการพชอ.ในการสนับสนุนโครงการ และประชาชนในพื้นที่พร้อมให้การสนับสนุนทุกรูปแบบ จึงได้มีการจัดทำโครงการบูรณาการกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน การเข้าถึงประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การคัดเลือกพื้นที่เพื่อเป็นพื้นที่นำร่องในการใช้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ควรมีผู้รู้ หรือมีหน้าที่บทบาทเกี่ยวข้องกับกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาวะ ร่วมถึงเข้าใจหรือมีประสบการณ์ เข้ามาเป็นแกนหลักสำคัญในการพัฒนาพื้นที่เกิดกระบวนการพัฒนาข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพและการใช้ระบบการติดตามและประเมินผลโครงการให้สอดคล้องกับแผนการสร้างเสริมสุขภาวะของ สสส. สปสช. และ สธ. ภายใต้ระเบียบของกองทุน (2) กลไกพี่เลี้ยงระดับเขตควรมีแนวปฏิบัติร่วมกันในการขับเคลื่อนงานและการเชื่อมประสานกับกลไกระดับพื้นที่เกี่ยวกับการทำงานแบบบูรณาการในการใช้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในการพัฒนาข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพและการใช้ระบบการติดตามและประเมินผลโครงการให้สอดคล้องกับแผนการสร้างเสริมสุขภาวะของ สสส. สปสช. และ สธ. ภายใต้ระเบียบของกองทุน (3) ควรนำกองทุนระดับพื้นที่เข้ามาพัฒนาศักยภาพในการใช้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเป็นเครื่องมือในการพัฒนาข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพและการใช้ระบบการติดตามและประเมินผลโครงการให้สอดคล้องกับแผนการสร้างเสริมสุขภาวะของ สสส. สปสช. และ สธ. ภายใต้ระเบียบของกองทุน (4) ปรับแบบฟอร์มในการคีย์ข้อมูล ให้มีการบูรณาการเข้าร่วมกัน เพื่อลดความซ้ำซ้อนและควรมีการแชร์ข้อมูลให้สามารถลิงค์กันได้

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

    จากผลการประเมินผลโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 พชอ.อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ พบว่า กระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ทั้ง 6 ขั้นตอน ต่อการเพิ่มศักยภาพกลไกระดับเขตและระดับพื้นที่ในการสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพและการใช้ระบบการติดตามและประเมินผลโครงการให้สอดคล้องกับแผนการสร้างเสริมสุขภาวะของ สสส. สปสช. และ สธ. ภายใต้ระเบียบของกองทุน พบว่า กลไกของพี่เลี้ยงระดับเขตและระดับพื้นที่ยังเชื่อมประสานไม่เข้มแข็ง ทำให้การเสริมศักยภาพโดยเฉพาะการใช้ระบบการติดตามและประเมินผลโครงการให้สอดคล้องกับแผนการสร้างเสริมสุขภาวะของ สสส. เข้าในระบบออนไลน์ ไม่สมบูรณ์และครบถ้วน ตามวัตถุสงค์ของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะฯ เนื่องจากไม่มีระเบียบหรือข้อบังคับใดที่จะมีผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และขณะเดียวกันกลไกทีมระดับพื้นที่ยังขาดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ต่อการนำไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการกลั่นกรองโครงการ การกำหนดขอบเขตการประเมิน การประเมินผลกระทบ การทบทวนร่างรายงาน การตัดสินใจ และการติดตามเฝ้าระวัง และการประเมินผลทั้งในระดับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และกองทุน 22 กองทุน ระดับพื้นที่อำเภอเมืองสุรินทร์ ในขณะเดียวกันการบริการจัดการโครงการสร้างเสริมสุขภาวะของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และกองทุน 22 กองทุน ระดับพื้นที่อำเภอเมืองสุรินทร์ มีระเบียบการจัดการโครงการภายใต้ระเบียบของกองทุนอย่างเข้มงวด มุ่งเน้นแผนงาน โครงการที่ สร้างเสริมสุขภาวะระดับบุคคล ครัวเรือน และชุมชน สู่ความยั่งยืน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม เน้นปัญหาในพื้นที่เป็นประเด็นในการจัดทำโครงการ โดยมีกลไกการทำงานครอบคลุมทุกภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ ซึ่งแผนงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ในปี 2563 มีจำนวน 5 แผนงาน ได้แก่ ด้านการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ด้านการป้องกันอุบัติเหตุทางท้องถนน ด้านการป้องกันปัญหายาเสพติด ด้านอาหารปลอดภัย และโรคไข้เลือดออก ซึ่งผลการดำเนินงานพบว่า มีพื้นที่ระดับกองทุน นำแผนงาน ไปขับเคลื่อนจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาวะ จำนวน 22 กองทุน ซึ่งมีประเด็นแตกต่างกันไปตามสภาพปัญหาของบริบทพื้นที่ และมีกลไกการเชื่อมงานระหว่างคณะกรรมการ พชอ.และ พชต. ได้ร่วมวิเคราะห์ปัญหา จัดทำเป็นแผนแบบบูรณาการและร่วมดำเนินการร่วมกัน แต่ไม่ครอบคลุมทั้ง 22 กองทุน เนื่องจากการดำเนินแผนงาน โครงการ ต้องเป็นไปตามนโยบายของผู้บริหารกองทุนระดับท้องถิ่นเป็นสำคัญ ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนาโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ คณะทำงานทีมประเมินเขต 9 จึงมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. การคัดเลือกพื้นที่เพื่อเป็นพื้นที่นำร่องในการใช้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ควรมีผู้รู้ หรือมีหน้าที่บทบาทเกี่ยวข้องกับกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาวะ ร่วมถึงเข้าใจหรือมีประสบการณ์ เข้ามาเป็นแกนหลักสำคัญในการพัฒนาพื้นที่เกิดกระบวนการพัฒนาข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพและการใช้ระบบการติดตามและประเมินผลโครงการให้สอดคล้องกับแผนการสร้างเสริมสุขภาวะของ สสส. สปสช. และ สธ. ภายใต้ระเบียบของกองทุน
    2. กลไกพี่เลี้ยงระดับเขตควรมีแนวปฏิบัติร่วมกันในการขับเคลื่อนงานและการเชื่อมประสานกับกลไกระดับพื้นที่เกี่ยวกับการทำงานแบบบูรณาการในการใช้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเป็นกรอบในการพัฒนาข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพและการใช้ระบบการติดตามและประเมินผลโครงการให้สอดคล้องกับแผนการสร้างเสริมสุขภาวะของ สสส. สปสช. และ สธ. ภายใต้ระเบียบของกองทุน
    3. ควรนำกองทุนระดับพื้นที่เข้ามาพัฒนาศักยภาพในการใช้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเป็นเครื่องมือในการพัฒนาข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพและการใช้ระบบการติดตามและประเมินผลโครงการให้สอดคล้องกับแผนการสร้างเสริมสุขภาวะของ สสส. สปสช. และ สธ. ภายใต้ระเบียบของกองทุน 4. ปรับแบบฟอร์มในการคีย์ข้อมูล ให้มีการบูรณาการเข้าร่วมกัน เพื่อลดความซ้ำซ้อนและควรมีการแชร์ข้อมูลให้สามารถลิงค์กันได้

     

     


    โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 9 อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ (ติดตามประเมินผล) จังหวัด สุรินทร์

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด