ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายนักประเมินพื้นที่ภาคใต้

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายนักประเมินพื้นที่ภาคใต้ ”



หัวหน้าโครงการ
นายประวิช ขุนนิคม และนายยุทธนา หอมเกตุ

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายนักประเมินพื้นที่ภาคใต้

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายนักประเมินพื้นที่ภาคใต้ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายนักประเมินพื้นที่ภาคใต้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายนักประเมินพื้นที่ภาคใต้ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการที่สำนักพัฒนาภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ (สภส)  สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) จัดทำหลักสูตรพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส.ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้ ในการออกแบบพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการเรียนรู้ โดยยึดหลัก Core competency for skills set เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ สมรรถนะ และความสามารถที่เกิดขึ้นจากกระบวนการทำงานมาแลกเปลี่ยน ถ่ายทอดเกิดการเชื่อมต่อความรู้ ขยายผลต่อยอดให้เกิดประโยชน์ สอดคล้องกับการพัฒนาการดำเนินงานตามกรอบ Ottawa Charter โดยเกิดการมีส่วนร่วมในกระบวนการและเกิดความคิดเชื่อมโยงการทำงานเข้าใจแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพในมุมองกว้างที่มีความหลากหลายเชิงประเด็น เชิงพื้นที่ เชิงกลุ่มเป้าหมาย นอกจากนี้เป็นการเชื่อมเครือข่ายการทำงานสร้างเสริมสุขภาพในระดับพื้นที่ โดยเข้ามาร่วมเป็นหุ้นส่วนของการขยายงาน และสร้างโอกาสการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพในระดับพื้นที่ เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนศักยภาพภาคีเครือข่ายทั้งในด้านองค์ความรู้ ความสามารถ และทักษะ ตลอดจนสร้างคุณค่ากำลังคน ทั้งในด้านแนวคิดและทัศนคติการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ รวมทั้งสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม พัฒนากรอบคิดและองค์ความรู้การทำงานด้านสร้างเสริมสุขภาพมุมมองใหม่ๆ หนุนเสริมการสร้างเครือข่ายให้เป็นแกนนำนักสร้างเสริมสุขภาพในระดับพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและเกิดประสิทธิผลในการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพทั้งในระดับชุมชน ท้องถิ่น องค์กร และนโยบาย ทั้งในภาคีเครือข่ายเองหรือข้ามภาคีเครือข่าย ตลอดจนสามารถขับเคลื่อนงานทางสังคม และสร้างพลังเครือข่ายได้อย่างยั่งยืน และมีกระบวนการพัฒนาทักษะให้แก่ภาคีเครือข่าย สสส. ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางานให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้จนนำไปสู่สังคมสุขภาวะนั้น เครือข่ายภาคีนักสร้างเสริมสุขภาพที่ผ่านการอบรมสามารถขับเคลื่อน และขยายผลตามประเด็นสุขภาพในหลายมิติที่สำคัญอาทิ เครือข่ายความมั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางทรัพยากร ความมั่นคงทางสุขภาพ มีเครือข่ายภาคีนักสร้างเสริมสุขภาพ จำนวน 13 เครือข่าย 20 กลุ่มพื้นที่ ดังนี้ เครือข่ายชุมชนน่าอยู่ ปัตตานี กระบี่
เครือข่ายปัจจัยเสี่ยงเหล้า บุหรี่ ยะลา สงขลา และนครศรีธรรมราช เครือข่ายปัจจัยเสี่ยงยาเสพติด นราธิวาส เครือข่ายปัจจัยเสี่ยงผู้หญิง สุราษฎร์ธานี เครือข่ายการท่องเที่ยว กระบี่ และภูเก็ต เครือข่ายเยียวยาชายแดนใต้ เครือข่ายชาวเล เครือข่ายสุขภาวะในสถาบันอาชีวะ เครือข่ายอาหาร เครือข่ายเยาวชน เครือข่ายสื่อ อาจารย์มหาวิทยาลัย นักศึกษาปริญญาโท ซึ่งพบว่าจากการขับเคลื่อนของเครือข่ายข้างต้นทั้งที่เกิดขึ้น และสามารถขับเคลือนได้อย่างต่อเนื่อง และบางส่วนเกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบกลไกทำให้ไม่สามารถดำเนินการต่อได้ ดังนั้น การศึกษา บทเรียนและความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพของไทยโดยใช้การเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพที่ต้องการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน พร้อมทั้งค้นหาขีดความสามารถในการพัฒนานโยบายทั้งในระดับพื้นที่ที่ดำเนินการได้ดี และพื้นที่ที่มีข้อจำกัดได้อย่างมีส่วนร่วมจึงถือเป็นกลไกสนับสนุนสำคัญ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อถอดบทเรียนและความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพของไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.การกลั่นกรองนโยบาย (ทบทวนความสอดคล้องของกิจกรรม โครงการ แผนงาน และนโยบาย) และกำหนดขอบเขต
  2. การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ และการทบทวนร่างรายงานการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน 15
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตรมีสมรรถนะในการจัดการความรู้ และประยุกต์ใช้ในพื้นที่ จนสามารถขับเคลื่อนเป็นแนวทางปฏิบัติที่ดี สนับสนุนกลไกการดำเนินงาน และเกิดชุดความรู้แลกเปลี่ยนระหว่างชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.การกลั่นกรองนโยบาย (ทบทวนความสอดคล้องของกิจกรรม โครงการ แผนงาน และนโยบาย) และกำหนดขอบเขต

วันที่ 5 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.การกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการหรือกิจกรรม (Screening) และการกำหนดขอบเขต (Scoping) ดำเนินการโดย 1.1 ทบทวนเอกสารทุติยภูมิของโครงการ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง กับโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส.ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้ 1.2 ทบทวนภาพเชิงระบบการจัดการเชิงยุทธศาสตร์ แผน และโครงการ และขอบเขตในการประเมินตามตัวที่ชี้วัดของโครงการ และชุมชนเห็นพ้องโดยกระบวนการสนทนากลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความเข้าใจทิศทางของยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ และสามารถเชื่อมโยงเครื่องมือการจัดการความรู้ที่ได้รับการอบรมไปประยุทธ์ใช้ได้ 2.ชุมชนสามารถกำหนดผลลัพธ์จากการพัฒนาตัวชี้วัดตามขั้นตอนการกำหนดขอบเขตได้ ผลลัพธ์ 1.ชุมชนเกิดการพัฒนาตัวชี้วัด ขอบเขตของการประเมิน และติดตามประเมินผลลัพธ์โดยชุมชนเองได้

 

5 0

2. การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ และการทบทวนร่างรายงานการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพ

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.สัมภาษณ์เชิงลึกครั้งที่ 1 ในกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมจำนวน 2 คน
2.สัมภาษณ์เชิงลึกครั้งที่ 2 ในกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมจำนวน 1 คน
3.สัมภาษณ์เชิงลึกครั้งที่ 3 ในกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมจำนวน 2 คน (ทางโทรศัพท์)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.ผู้ผ่านการอบรมได้รับการประเมินผลหลังการอบรม 2.เกิดชุดข้อมูลตามผลการประเมินขอผู้ศึกษา ผลลัพธ์ 1.ชุดความรู้สามารถพัฒนาบทเรียนแห่งความสำเร็จได้ 2.เป็นแนวทางในการพัฒนาให้กับพื้นที่อื่นๆในการดำเนินการ และจัดทำกิจกรรมโครงการระดับพื้นที่

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อถอดบทเรียนและความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพของไทย
ตัวชี้วัด : บทเรียนและความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพของไทย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 15
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) 0
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน 15
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อถอดบทเรียนและความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพของไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.การกลั่นกรองนโยบาย (ทบทวนความสอดคล้องของกิจกรรม โครงการ แผนงาน และนโยบาย) และกำหนดขอบเขต (2) การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ และการทบทวนร่างรายงานการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายนักประเมินพื้นที่ภาคใต้ จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประวิช ขุนนิคม และนายยุทธนา หอมเกตุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด