ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการประเมินผลโครงการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทาง ถนนในชุมชน บ้านป่ายางมนใหม่ ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน(คน) ลดลงเหลือ 0 คน
20.00 4.00 0.00

 

2 เพื่อลดสถานที่เป็นจุดเสี่ยงก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนลง
ตัวชี้วัด : จำนวนสถานที่เป็นจุดเสี่ยงก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน ได้รับการแก้ไข
3.00

 

3 ร่วมกันกำหนดมาตรการการธรรมนูญชุมชน เพื่อจัดการจุดเสี่ยงภัยทางถนนในชุมชน เช่น สวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่ เมาไม่ขับ ขับรถไม่เกิน 60 กม./ชม.
ตัวชี้วัด : 1.การมีส่วนร่วมของชาวบ้านในชุมชน 2.คณะกรรมการชุมชนเข้มแข็ง 3.การหนุนเสริมจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อบต.รอบเวียง)สนับสนุน ความรู้ความปลอดภัยทางถนน บุคลากร และวัสดุอุปกรณ์ในการแก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยง 4.ภาคเอกชน(กรีนวิง/ผู้ประกอบการจำหน่ายรถจักรยายนต์)สนับสนุนให้ความรู้แก่ชาวบ้านและนักเรียน
1.00

 

4 เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน(คน)
20.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 10
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน 10
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน (2) เพื่อลดสถานที่เป็นจุดเสี่ยงก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนลง (3) ร่วมกันกำหนดมาตรการการธรรมนูญชุมชน เพื่อจัดการจุดเสี่ยงภัยทางถนนในชุมชน เช่น สวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่ เมาไม่ขับ ขับรถไม่เกิน 60 กม./ชม. (4) เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการประเมินโครงการ สสส.ให้กับทีมงาน (2) ลงพื้นที่ประเมินโครงการร่วมกับทีมงานและคณะกรรมการหมู่บ้าน (3) ประสานงานเครือข่ายเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการประเมิน (4) ลงระบบประเมินผลโครงการ (5) วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่การเขียนรายงานผล (6) ติดตามผลการขับเคลื่อนการแก้ไขจุดเสี่ยงทางถนนในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh