แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ การฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อน การป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ กับ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และยาเสพติดในวัยรุ่น โดยองค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดลำปาง ”
จังหวัดลำปาง
หัวหน้าโครงการ
ดร พัฒนา นาคทอง
ชื่อโครงการ การฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อน การป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ กับ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และยาเสพติดในวัยรุ่น โดยองค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดลำปาง
ที่อยู่ จังหวัดลำปาง จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ข้อตกลง เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 10 มีนาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"การฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อน การป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ กับ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และยาเสพติดในวัยรุ่น โดยองค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดลำปาง จังหวัดลำปาง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดลำปาง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อน การป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ กับ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และยาเสพติดในวัยรุ่น โดยองค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดลำปาง
บทคัดย่อ
โครงการ " การฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อน การป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ กับ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และยาเสพติดในวัยรุ่น โดยองค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดลำปาง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดลำปาง รหัสโครงการ ข้อตกลง ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2561 - 10 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เหตุผลสำคัญของการประเมินโครงการ โครงการพัฒนารูปแบบบูรณาการการขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์กับเอชไอวี/เอดล์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และยาเสพติดในวัยรุ่น เนื่องจากโครงการนี้ เป็นโครงการที่เป็นผลของโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่ดำเนินการโดยหน่วยงานภาครัฐที่ สสส.ให้การสนับสนุน ภายใต้ภารกิจ 9 ด้าน แบบบูรณาการทุกภาคส่วน ก่อนจะมีการประกาศใช้พรบ.ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 ทำให้สถานการณ์การตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดมีแนวโน้มลดลงกระนั้นก็ตามมีช่องว่างและปัญหาของการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐที่มีภารกิจมากมาย และในระหว่างการดำเนินโครงการดังกล่าวเกิดมีองค์กรสาธารณะประโยชน์เกิดขึ้น คือ กลุ่มเพื่อนเพื่อเด็กและเยาวชนลำปาง เป็นองค์กรนิติบุคคล ได้ช่วยลดช่องว่างที่เกิดขึ้นจากข้อจำกัดของส่วนราชการในพื้นที่ได้ โครงการที่สสส.อนุมัติในครั้งนี้ จึงดำเนินการโดยกลุ่มเพื่อนเพือเด็กและเยาวชนลำปาง ร่วมกับสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดลำปางและหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง ที่จะดำเนินงานพัฒนารูปแบบ
บูรณาการโดยองค์กรสาธารณประโยชน์ ใน 2 ส่วนคือ บูรณาการเชิงประเด็น และบูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงาน โครงการดังกล่าวดำเนินการอยู่ในช่วงได้รับอนุมัติให้ดำเนินการ ของสสส. แต่ยังไม่ได้ลงมือทำงานจึงเป็นโอกาสของการฝึกออกแบบการติดตามประเมินผลได้ตั้งแต่เบื้องต้น โดยใช้กระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ( CHIA) เป็นกรอบของกระบวนการศึกษา ใช้บันไดผลลัพธ์เป็น road map ตัววิเคราะห์และวางแผนรองรับสิ่งที่คาดไม่ถึงให้เป็นสิ่งที่คาดถึงเพื่อ การบรรลุเป้าหมายระหว่างการดำเนินการ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งกับแหล่งทุนซึ่งมุ่งสร้างการมีส่วนร่วมของภาคี และหนุนเสริมผู้รับทุน และร่วมปรับ/กำกับทิศทางการดำเนินกิจกรรมโครงการให้เป็นไปตามผลลัพธ์ให้บรรลุวัตถุประสงค์และทันตามกำหนด ทั้งนี้โครงการดังกล่าวได้มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนงานส่งเสริมสุขภาวะโดยมีองค์กรสาธารณประโยชน์มีส่วนร่วมกับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องโดยการทำงานบูรณาการร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอันส่งผลต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ รวมไปถึงการป้องกันเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และยาเสพติด
วัตถุประสงค์ของโครงการการฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการนี้คือการประเมินโดยใช้ประยุกต์การใช้รูปแบบขั้นตอนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเป็นกรอบของกระบวนการการเรียนรู้ร่วมกันและใช้บันไดผลลัพธ์เป็น road map วิเคราะห์และวางแผนกำกับการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของโครงการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- คณะทำงานมีความเชื่อมั่นและต่อยอดต้นทุนเดิม
- คณะทำงานรู้เข้าใจโครงการและขอบเขตการดำเนินงานที่ชัดเจน
- เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างภาคีในประเด็นส่งเสริมสุขภาวะกลุ่มวัยรุ่น
- หนุนเสริมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
- เกิดรูปแบบการบูรณาการโดยองค์กรสาธารณประโยชน์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ร่วมในการประชุมคณะทำงานชี้แจงแผนงานโครงการพัฒนารูปแบบบูรณาการการขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์กับเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และยาเสพติดในวัยรุ่นโดยองค์กรสาธารณะประโยชน์
- ร่วมประชุมกับคณะทำงานเพื่อติดตามหนุนเสริมภายในของทีมขับเคลื่่อน
- ชี้แจงวัตถุประสงค์แก่ทีมผู้รับผิดชอบโครงการ
- ตรวจสอบความเชื่อและการประยุกต์ใช้
- ออกแบบวางแผนกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ร่วมประชุม สังเกตการ
- ร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ภาคีเครือข่ายงานวัยรุ่นจังหวัดและการพัฒนาเครือข่ายเพื่อเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างเป้้าหมายร่วมพร้อมหาแนวทางการบูรณาการงานวัยรุ่นร่วมกัน
- สรุปรายงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
13,000
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
คณะทำงานภาคีเครือข่ายองค์กรสาธารณประโยชน์ที่เข้มแข
5
เด็กนักเรียนในโรงเรียน/1โรงเรียน/1 อำเภอ ทั้งหมด13
13
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
โครงการที่ได้รับการติดตามประเมินผลมีการดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามบันไดผลลัพธ์ ผู้รับผิดชอบโครงการและภาคีเครือข่ายเกิดบูรณาการงานร่วมกันอย่างต่อเนื่องเกิดรูปแบบ การบูรณาการการขับเคลื่อนงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น กับ การป้องกันเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ ยาเสพติด โดยองค์กรสาธารณประโยชน์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ชี้แจงวัตถุประสงค์แก่ทีมผู้รับผิดชอบโครงการ
วันที่ 16 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ทำความรู้จักแนะนำตนเองและชี้แจงโครงการ ค่าอาหารและอาหารว่าง ค่าตอบแทน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทีม 2 คน สร้างปฏิสัมพันธ์กับทีมผู้รับผิดชอบ 2 คน
ทีมยินดีให้เข้าประเมินและนัดหมายกิจกรรมครั้งต่อไป
2
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
คณะทำงานมีความเชื่อมั่นและต่อยอดต้นทุนเดิม
ตัวชี้วัด : จำนวนองค์กร/คนบทบาทขับเคลื่อนโครงการ บทบาทในกลไกจังหวัด
จำนวนภาคีเครือข่าย/คณะทำงานของภาคีเครือข่าย/บทบาท
0.00
2
คณะทำงานรู้เข้าใจโครงการและขอบเขตการดำเนินงานที่ชัดเจน
ตัวชี้วัด : ทุกคนรู้และเข้าใจโครงการขอบเขตการดำเนินงาน กระบวนการดำเนินงาน
0.00
3
เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างภาคีในประเด็นส่งเสริมสุขภาวะกลุ่มวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : รายการและจำนวนกิจกรรมที่สะท้อนการบูรณาการเชิงเนื้อหาและผลผลิตของกิจกรรมนั้นๆ
หน่วยงาน องค์กร จำนวนผู้มีแนวคิดเชิงบวกด้านสุขภาพทางเพศเพิ่มขึ้นร้อยละ50ภายหลังการดำเนินโครงการ
ผลการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นของภาคีเครือข่าย
0.00
4
หนุนเสริมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : มีแผนปฏิบัติงานรายปีของจังหวัดที่กลุ่มเพื่อนเพื่อเด็กและเยาวชนจังหวัดลำปางได้เข้ามีส่วนร่วม
0.00
5
เกิดรูปแบบการบูรณาการโดยองค์กรสาธารณประโยชน์
ตัวชี้วัด : จำนวน/ขั้นตอน/กลไก องค์ประกอบภาคี/บทบาทภาคี/วิธีดำเนินงาน/ความเหมาะสมแต่ละรูปแบบ
ผลที่เกิดขึ้นแต่ละรูปแบบ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
13018
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
-
วัยเรียน (6-12 ปี)
-
วัยรุ่น (13-15 ปี)
13,000
เยาวชน (15-20 ปี)
0
วัยทำงาน
-
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
-
ผู้หญิง
-
มุสลิม
-
พระภิกษุ
-
ชาติพันธุ์
-
ผู้ต้องขัง
-
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
-
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
-
แรงงานข้ามชาติ
-
อื่น ๆ
-
คณะทำงานภาคีเครือข่ายองค์กรสาธารณประโยชน์ที่เข้มแข
5
เด็กนักเรียนในโรงเรียน/1โรงเรียน/1 อำเภอ ทั้งหมด13
13
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
การฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อน การป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ กับ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และยาเสพติดในวัยรุ่น โดยองค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดลำปาง จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ข้อตกลง
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ดร พัฒนา นาคทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ การฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อน การป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ กับ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และยาเสพติดในวัยรุ่น โดยองค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดลำปาง ”
จังหวัดลำปางหัวหน้าโครงการ
ดร พัฒนา นาคทอง
ชื่อโครงการ การฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อน การป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ กับ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และยาเสพติดในวัยรุ่น โดยองค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดลำปาง
ที่อยู่ จังหวัดลำปาง จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ข้อตกลง เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 10 มีนาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"การฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อน การป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ กับ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และยาเสพติดในวัยรุ่น โดยองค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดลำปาง จังหวัดลำปาง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดลำปาง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อน การป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ กับ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และยาเสพติดในวัยรุ่น โดยองค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดลำปาง
บทคัดย่อ
โครงการ " การฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อน การป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ กับ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และยาเสพติดในวัยรุ่น โดยองค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดลำปาง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดลำปาง รหัสโครงการ ข้อตกลง ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2561 - 10 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เหตุผลสำคัญของการประเมินโครงการ โครงการพัฒนารูปแบบบูรณาการการขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์กับเอชไอวี/เอดล์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และยาเสพติดในวัยรุ่น เนื่องจากโครงการนี้ เป็นโครงการที่เป็นผลของโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่ดำเนินการโดยหน่วยงานภาครัฐที่ สสส.ให้การสนับสนุน ภายใต้ภารกิจ 9 ด้าน แบบบูรณาการทุกภาคส่วน ก่อนจะมีการประกาศใช้พรบ.ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 ทำให้สถานการณ์การตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดมีแนวโน้มลดลงกระนั้นก็ตามมีช่องว่างและปัญหาของการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐที่มีภารกิจมากมาย และในระหว่างการดำเนินโครงการดังกล่าวเกิดมีองค์กรสาธารณะประโยชน์เกิดขึ้น คือ กลุ่มเพื่อนเพื่อเด็กและเยาวชนลำปาง เป็นองค์กรนิติบุคคล ได้ช่วยลดช่องว่างที่เกิดขึ้นจากข้อจำกัดของส่วนราชการในพื้นที่ได้ โครงการที่สสส.อนุมัติในครั้งนี้ จึงดำเนินการโดยกลุ่มเพื่อนเพือเด็กและเยาวชนลำปาง ร่วมกับสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดลำปางและหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง ที่จะดำเนินงานพัฒนารูปแบบ
บูรณาการโดยองค์กรสาธารณประโยชน์ ใน 2 ส่วนคือ บูรณาการเชิงประเด็น และบูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงาน โครงการดังกล่าวดำเนินการอยู่ในช่วงได้รับอนุมัติให้ดำเนินการ ของสสส. แต่ยังไม่ได้ลงมือทำงานจึงเป็นโอกาสของการฝึกออกแบบการติดตามประเมินผลได้ตั้งแต่เบื้องต้น โดยใช้กระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ( CHIA) เป็นกรอบของกระบวนการศึกษา ใช้บันไดผลลัพธ์เป็น road map ตัววิเคราะห์และวางแผนรองรับสิ่งที่คาดไม่ถึงให้เป็นสิ่งที่คาดถึงเพื่อ การบรรลุเป้าหมายระหว่างการดำเนินการ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งกับแหล่งทุนซึ่งมุ่งสร้างการมีส่วนร่วมของภาคี และหนุนเสริมผู้รับทุน และร่วมปรับ/กำกับทิศทางการดำเนินกิจกรรมโครงการให้เป็นไปตามผลลัพธ์ให้บรรลุวัตถุประสงค์และทันตามกำหนด ทั้งนี้โครงการดังกล่าวได้มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนงานส่งเสริมสุขภาวะโดยมีองค์กรสาธารณประโยชน์มีส่วนร่วมกับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องโดยการทำงานบูรณาการร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอันส่งผลต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ รวมไปถึงการป้องกันเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และยาเสพติด
วัตถุประสงค์ของโครงการการฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการนี้คือการประเมินโดยใช้ประยุกต์การใช้รูปแบบขั้นตอนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเป็นกรอบของกระบวนการการเรียนรู้ร่วมกันและใช้บันไดผลลัพธ์เป็น road map วิเคราะห์และวางแผนกำกับการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของโครงการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- คณะทำงานมีความเชื่อมั่นและต่อยอดต้นทุนเดิม
- คณะทำงานรู้เข้าใจโครงการและขอบเขตการดำเนินงานที่ชัดเจน
- เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างภาคีในประเด็นส่งเสริมสุขภาวะกลุ่มวัยรุ่น
- หนุนเสริมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
- เกิดรูปแบบการบูรณาการโดยองค์กรสาธารณประโยชน์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ร่วมในการประชุมคณะทำงานชี้แจงแผนงานโครงการพัฒนารูปแบบบูรณาการการขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์กับเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และยาเสพติดในวัยรุ่นโดยองค์กรสาธารณะประโยชน์
- ร่วมประชุมกับคณะทำงานเพื่อติดตามหนุนเสริมภายในของทีมขับเคลื่่อน
- ชี้แจงวัตถุประสงค์แก่ทีมผู้รับผิดชอบโครงการ
- ตรวจสอบความเชื่อและการประยุกต์ใช้
- ออกแบบวางแผนกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ร่วมประชุม สังเกตการ
- ร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ภาคีเครือข่ายงานวัยรุ่นจังหวัดและการพัฒนาเครือข่ายเพื่อเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างเป้้าหมายร่วมพร้อมหาแนวทางการบูรณาการงานวัยรุ่นร่วมกัน
- สรุปรายงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | 13,000 | |
เยาวชน (15-20 ปี) | ||
วัยทำงาน | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
ผู้พิการ | ||
ผู้หญิง | ||
มุสลิม | ||
พระภิกษุ | ||
ชาติพันธุ์ | ||
ผู้ต้องขัง | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | ||
แรงงานข้ามชาติ | ||
อื่น ๆ | ||
คณะทำงานภาคีเครือข่ายองค์กรสาธารณประโยชน์ที่เข้มแข | 5 | |
เด็กนักเรียนในโรงเรียน/1โรงเรียน/1 อำเภอ ทั้งหมด13 | 13 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
โครงการที่ได้รับการติดตามประเมินผลมีการดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามบันไดผลลัพธ์ ผู้รับผิดชอบโครงการและภาคีเครือข่ายเกิดบูรณาการงานร่วมกันอย่างต่อเนื่องเกิดรูปแบบ การบูรณาการการขับเคลื่อนงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น กับ การป้องกันเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ ยาเสพติด โดยองค์กรสาธารณประโยชน์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ชี้แจงวัตถุประสงค์แก่ทีมผู้รับผิดชอบโครงการ |
||
วันที่ 16 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำทำความรู้จักแนะนำตนเองและชี้แจงโครงการ ค่าอาหารและอาหารว่าง ค่าตอบแทน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทีม 2 คน สร้างปฏิสัมพันธ์กับทีมผู้รับผิดชอบ 2 คน
|
2 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | คณะทำงานมีความเชื่อมั่นและต่อยอดต้นทุนเดิม ตัวชี้วัด : จำนวนองค์กร/คนบทบาทขับเคลื่อนโครงการ บทบาทในกลไกจังหวัด จำนวนภาคีเครือข่าย/คณะทำงานของภาคีเครือข่าย/บทบาท |
0.00 | |||
2 | คณะทำงานรู้เข้าใจโครงการและขอบเขตการดำเนินงานที่ชัดเจน ตัวชี้วัด : ทุกคนรู้และเข้าใจโครงการขอบเขตการดำเนินงาน กระบวนการดำเนินงาน |
0.00 | |||
3 | เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างภาคีในประเด็นส่งเสริมสุขภาวะกลุ่มวัยรุ่น ตัวชี้วัด : รายการและจำนวนกิจกรรมที่สะท้อนการบูรณาการเชิงเนื้อหาและผลผลิตของกิจกรรมนั้นๆ หน่วยงาน องค์กร จำนวนผู้มีแนวคิดเชิงบวกด้านสุขภาพทางเพศเพิ่มขึ้นร้อยละ50ภายหลังการดำเนินโครงการ ผลการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นของภาคีเครือข่าย |
0.00 | |||
4 | หนุนเสริมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ตัวชี้วัด : มีแผนปฏิบัติงานรายปีของจังหวัดที่กลุ่มเพื่อนเพื่อเด็กและเยาวชนจังหวัดลำปางได้เข้ามีส่วนร่วม |
0.00 | |||
5 | เกิดรูปแบบการบูรณาการโดยองค์กรสาธารณประโยชน์ ตัวชี้วัด : จำนวน/ขั้นตอน/กลไก องค์ประกอบภาคี/บทบาทภาคี/วิธีดำเนินงาน/ความเหมาะสมแต่ละรูปแบบ ผลที่เกิดขึ้นแต่ละรูปแบบ |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 13018 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | - | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | - | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | 13,000 | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | 0 | ||
วัยทำงาน | - | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - | ||
คณะทำงานภาคีเครือข่ายองค์กรสาธารณประโยชน์ที่เข้มแข | 5 | ||
เด็กนักเรียนในโรงเรียน/1โรงเรียน/1 อำเภอ ทั้งหมด13 | 13 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
การฝึกปฏิบัติการภาคสนามลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนารูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อน การป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ กับ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และยาเสพติดในวัยรุ่น โดยองค์กรสาธารณประโยชน์ จังหวัดลำปาง จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ข้อตกลง
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ดร พัฒนา นาคทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......