ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการประเมินผล โครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง อ.แม่จริม จ.น่าน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการประเมินผล โครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง อ.แม่จริม จ.น่าน ”

ตำบลหนองแดง อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน

หัวหน้าโครงการ
ดร.มาโนชญ์ ชายครอง ดร.วิชาภรณ์ คันทะมูล

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง อ.แม่จริม จ.น่าน

ที่อยู่ ตำบลหนองแดง อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินผล โครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง อ.แม่จริม จ.น่าน จังหวัดน่าน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองแดง อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผล โครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง อ.แม่จริม จ.น่าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินผล โครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง อ.แม่จริม จ.น่าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองแดง อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โดยในปี 2559 บ้านหนองแดงได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนักสร้างสรรค์โอกาสและนวัตกรรม (สำนัก 6 ) เพื่อมาจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาขยะในพื้นที่บ้านหนองแดง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้หมู่บ้านมีการคัดแยกขยะอย่างเหมาะสม ทางหมู่บ้านได้จัดให้มีกิจกรรมต่างๆ เพื่อเป็นการลดปริมาณขยะในหมู่บ้านหนองแดง โดยมีการจัดตั้งคณะทำงานจากเครือข่ายต่างๆในพื้นที่ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของหมู่บ้านเพื่อคืนข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะมูลฝอยของหมู่บ้านให้ประชาชนรับทราบและให้ความสำคัญกับปัญหาขยะมูลฝอย มีการส่งเสริมให้ความรู้ประชาชนในการจัดการขยะด้วยวิธีการคัดแยกขยะที่ต้นทาง และจัดให้มีการทำกิจกรรมสนับสนุนเพื่อลดปริมาณขยะในหมู่บ้านได้แก่ Big cleaning day ทำปุ๋ยหมักจากขยะย่อยสลาย ตลาดนัดขยะ ยกย่องเชิดชูเกียรติครัวเรือนที่มีการบริหารจัดการขยะได้ดี จากการดำเนินโครงการทำให้บ้านหนองแดงมีปริมาณขยะลดลงอย่างต่อเนื่องจนเหลือปริมาณขยะในแต่ละวัน 4.24 กิโลกรัม/วัน มีการปิดบ่อขยะของหมู่บ้านจำนวน 1 บ่อ มีครัวเรือนตัวอย่างในการจัดการขยะจำนวน 5 ครัวเรือน ในหมู่บ้านมีการจัดตลาดนัดขยะรีไซเคิลทุกวันที่ 10 ของทุกเดือน โดยในปี 59 บ้านหนองแดงสามารถซื้อขายขยะรีไซเคิลได้ จำนวน 3,155 กิโลกรัม มีการจัดกิจกรรมเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติกโดยใช้กระติ๊บข้าวแทนในการจัดการประเพณีของหมู่บ้านซึ่งในกรจัดการแต่ละครั้งสามารถลดการใช้ถุงพลาสติกห่อข้าวได้ประมาณ 300 – 400 ถุง ปัจจุบันการจัดการขยะของบ้านหนองแดงประชาชนให้ความร่วมมือในการจัดการขยะจนปริมาณขยะที่นำไปกำจัดลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่หมู่บ้านยังพบว่าการจัดการขยะย่อยสลายที่เป็นขยะส่วนใหญ่มีปริมาณมากถึง ร้อยละ 52 ของปริมาณขยะทั้งหมด ยังมีการใช้ประโยชน์จากขยะย่อยสลายน้อย บ้านหนองแดงมีรูปแบบการจัดการโดยการหมักขยะทำเป็นปุ๋ยในท่อซีเมนต์ แต่ยังไม่ได้นำไปทำประโยชน์และใช้ประโยชน์ โดยบ้านหนองแดงแต่ละครัวเรือนจะมีท่อซีเมนต์เพื่อคัดแยกขยะย่อยสลายและทำปุ๋ยหมักในท่อซีเมนต์ จากการสำรวจพบว่าร้อยละ 80 นำขยะย่อยสลายใส่ในท่อซีเมนต์ไว้เฉยๆ ไม่มีการดูแลและเติมมูลสัตว์เพื่อทำให้กลายเป็นปุ๋ยที่มีคุณภาพ ซึ่งการดำเนินกิจกรรมการคัดแยกขยะย่อยสลายโดยการทำปุ๋ยหมักในท่อซีเมนต์ หากประชาชนในหมู่บ้านหนองแดงไม่มีการใช้ประโยชน์ในอนาคต การดำเนินกิจกรรมดังกล่าวอาจจะไม่มีความต่อเนื่องได้ ดังนั้นเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการทำกิจกรรมควรต้องส่งเสริมให้ประชาชนมีการรับรู้ถึงวิธีการขั้นต้อนการทำปุ๋ยที่ถูกต้องและประชาชนได้ใช้ประโยชน์จากปุ๋ยหมักจากขยะย่อยสลาย และได้รับประโยชน์ทั่งทางตรงและทางอ้อม เช่นการได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษ การมีปุ๋ยหมักจากขยะย่อยสลายใช้ในครัวเรือน เป็นต้น คณะกรรมการบ้านหนองแดง จึงได้เห็นความสำคัญในการส่งเสริมให้มีการจัดการขยะแบบยั่งยืน จึงได้มีการจัดกิจกรรมเพื่อต่อยอดโครงการจัดการขยะในปี 2560 ขึ้น โดยมีวิธีการที่จะส่งเสริมให้ประชาชนในหมู่บ้านได้มีการเรียนรู้ที่จะทำปุ๋ยหมักจากขยะย่อยสลายและใช้ประโยชน์จากขยะย่อยสลาย และลดการเผาขยะในครัวเรือนซึ่งจะสามารถช่วยป้องกันการเกิดมลพิษที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ และให้การดำเนินงานจัดการขยะมูลฝอยของหมู่บ้านหนองแดงเกิดความยั่งยืนและต่อเนื่องโดยที่ไม่ต้องมีการติดตามกำกับจากหน่วยงานและสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ในการจัดการขยะมูลฝอยได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อติดตามการดำเนินงานโครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง
  2. เพื่อประเมินผลกิจกรรมโครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ โครงการติดตามและประเมินผลโครงการในชุมชน
  2. ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมโครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน
  3. รายงานความก้าวหน้าการติดตามประเมินผลโครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน
  4. ประเมินผลการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
ประชาชนในครัวเรือน ตำบลหนองแดง 82

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ โครงการติดตามและประเมินผลโครงการในชุมชน

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงวัตถุประสงค์ ขั้นตอนในการติดตามและประเมินผลโครงการการจัดการขยะในชุมชน แก่คณะกรรมการโครงการในหมู่บ้าน
  2. เสนอแนะ แนวทางในการพัฒนากิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะกรรมการทราบวัตถุประสงค์โครงการ และเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนากิจกรรมในการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน
  2. ชุมชนมีการพัฒนากิจกรรมในการจัดการขยะในครัวเรือน และชุมชน ตามข้อเสนอแนะ

 

20 0

2. รายงานความก้าวหน้าการติดตามประเมินผลโครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. แลกเปลี่ยน แนวทางการการติดตาม และการประเมินผล ระหว่างพื้นที่
  2. ฝึกลงข้อมูลในเวบไซต์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การลงข้อมูลในเวบไซต์

 

20 0

3. ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมโครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน

วันที่ 2 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ ตามกรอบแนวคิดการประเมินแบบ CIPP

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป้าหมายของการจัดการขยะที่ยั่งยืน โดยทุกคนในครัวเรือนสามารถจัดการขยะทุกประเภทได้ ร้อยละ 100
โดยใช้แนวทาง ลดการนำเข้าขยะ จากการบริโภค จัดการขยะในแต่ละประเภท ร่วมกันพัฒนาหมู่บ้านเดือนละครั้ง ทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบในครัวเรื่อน/หน้าบ้านของตนเอง

 

90 0

4. ประเมินผลการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน

วันที่ 9 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการประเมินกิจกรรมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปัจจัยนำเข้า ประกอบด้วย

  1. คณะทำงานการจัดการขยะ
  2. ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะ
  3. กลไกการติดตามและแรงจูงใจในการจัดการขยะ
  4. การจัดการขยะอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

วิธีการ/กระบวนการ กิจกรรมในการดำเนินงาน 1.1 แต่งตั้งคณะทำงาน 1.2 กำหนดบทบาทและหน้าที่ของคณะทำงาน 1.3 ประชาสัมพันธ์โครงการให้ชุมชน 1.4 ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ 2.1 อบรมให้ความรู้ 2.2 ประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะและลดการเผาขยะ 2.3 คืนข้อมูลการสำรวจ ติดตามการจัดการขยะ 3.1 คณะกรรมการติดตามให้คำแนะนำการคัดแยกขยะ
3.2 จัดกิจกรรม Big Cleaning Day 3.3 กำหนดมาตรการคัดแยกขยะ 3.4 หิ้วถุงผ้าจ่ายตลาด 3.5 คัดแยกขยะในงานประเพณี 3.6 จัดตั้งกลุ่มพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ 4.1 ส่งเสริมครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ ผลผลิต/ผลลัพธ์

  1. มีคณะทำงาน การจัดการขยะ
  2. มีแผนปฏิบัติการ
  3. มีข้อตกลงในการจัดการขยะ
  4. ร้อยละ 80 ตัวแทนครัวเรือนมีความรู้ในการทำปุ๋ยหมักจากขยะย่อยสลาย และผลกระทบจากการเผาขยะ
  5. มีมาตรการในการจัดการขยะ
  6. มีการติดตามแนะนำการจัดการขยะในครัวเรือน
  7. มีการเก็บและคืนข้อมูลการจัดการขยะในหมู่บ้านทุกเดือน
  8. เกิดครัวเรือนที่ผลิตและใช้ปุ๋ยจากขยะย่อยสลาย ร้อยละ 80 91. มีครัวเรือนต้นแบบจัดการขยะ 10 ครัวเรือน
  9. เป็นแหล่งเรียนรู้การจัดการขยะ

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อติดตามการดำเนินงานโครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการโครงการได้รับการติดตามโครงการ และดำเนินการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ
1.00

 

2 เพื่อประเมินผลกิจกรรมโครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง
ตัวชี้วัด : ผลการดำเนินกิจกรรมโครงการตามตัวชี้วัด
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 82
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -
ประชาชนในครัวเรือน ตำบลหนองแดง 82

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อติดตามการดำเนินงานโครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง (2) เพื่อประเมินผลกิจกรรมโครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ โครงการติดตามและประเมินผลโครงการในชุมชน (2) ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมโครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน (3) รายงานความก้าวหน้าการติดตามประเมินผลโครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน (4) ประเมินผลการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง อ.แม่จริม จ.น่าน

ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
  1. ตลาดนัดขยะรีไซเคิล
  2. ผ้าป่าขยะรีไซเคิล
  3. ร้านค้าลดถุงพลาสติกโดย การใช้ตะกร้า สำหรับใช้ในการจ่ายตลาด และนำไปซื้อของ
  4. ครัวเรือนต้นแบบจัดการขยะมูลฝอย
  5. พืชผักสวนครัวปลอดสารพิษจากการใช้ขยะอินทรีย์
  6. การ หิว ตะกร้า เข้าวัด 7.จัดทำเสวียนบริเวณรอบหมู่บ้าน
  7. นำกล่องนมไปผลิตกระดาษสาโดยในชุมชน

ผลงานเชิงประจักษ์ เช่น กระดาษสาจากกล่องนม
การบอกเล่า วิธีการในการจัดการขยะ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
  1. ทำข้อตกลงร่วมกันในชุมชน
  2. สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในหน่วยงาน
  3. สนับสนุนท่อซีเมนต์
  4. สนับสนุนชุดแยกขยะอันตราย
  5. ดำเนินกิจกรรมตลาดนัดขยะรีไซเคิล ด้วยการคัดแยกทุกวันที่ 10 ของเดือน และถุงพลาสติกแลกไข่
  6. ติดตามให้คำแนะนำในหน่วยงานและชุมชน คัดแยกขยะก่อนทิ้ง

 

เป็นชุมชนที่ สะอาด ปลอดขยะ 100% โดยทุกคนในครัวเรือน เป็นผู้จัดการขยะทุกประเภท

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
  1. มีเยาวชนเข้าไปร่วมจัดการขยะในชุมชน เช่นขยะอันตรายไฟฉายหลอดไฟ นำไปกำจัดที่อำเภอเมือง
  2. โรงเรียนสีเขียวในชุมชนจากการจัดอบรมหลักสูตรจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียนสนับสนุนอุปกรณ์ที่ใช้ในการซื้อขายขยะรีไซเคิลปรับปรุงอาคารทำปุ๋ยหมักปรับปรุงอาคารทำขยะรีไซเคิลสนับสนุนการซื้อขายขยะรีไซเคิลในโรงเรียนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

การสัมภาษณ์ในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
  1. การจัดการขยะอินทรีย์โดยใช้ท่อซีเมนต์
  2. การทำน้ำหมักชีวภาพ ในครัวเรือน

 

ขยะเป็นปุ๋ยอินทรีย์สำหรับ พืชผักปลอดสารพิษ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ลดการใช้เครื่องปรุงอาหาร เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

การนำขยะอินทรีย์เป็นปุ๋ยหมักสำหรับใช้ในการเกษตรในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

เกิดพฤติกรรมการจัดการขยะของสมาชิกในครัวเรือน และในชุมชนโดยการดูแลแนะนำจากกลุ่มคณะกรรมการโครงการ อสม. และแกนนำผู้ใหญ่บ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
  1. อบรมให้ความรู้โดยชุมชน ให้รู้จักการคัดแยกขยะ
  2. สนับสนุนให้มีการใช้ปุ๋ยชีวภาพปุ๋ยหมักในการปลูกผักในครัวเรือน
  3. การจากวัสดุอุปกรณ์สำหรับใช้ในการผลิตปุ๋ยหมักเช่นท่อซีเมนต์
  4. ประกวดครัวเรือนสะอาดมอบเกียรติบัตร ครัวเรือนต้นแบบ
  5. ศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบใกล้เคียง
  6. มีการเชื่อมโยงประสานงานกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
  7. สนับสนุนถุงผ้าไปตลาด
  8. การปลูกต้นไม้ปลูกป่าทำความสะอาดบริเวณถนน

มีการติดตามการใช้ถุงผ้าเป็นระยะ

  1. เปลี่ยนจากถุงผ้าเป็นตะกร้าที่สามารถจักสานได้ด้วยที่บ้าน
  2. มอบหมายหน้าที่ให้ กลุ่ม แม่บ้านดำเนินการจัดหาถุงผ้าโดยการเย็บปากแจกให้แก่ครัวเรือน ที่ถุงผ้าชำรุดหรือขาดหาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

1.ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะดี ป้องกันโรคระบาดจากสัตว์นำโรค เช่น หนู แมลงวัน แมงสาบ เป็นต้น 2. ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่สะอาด เอื้อต่อการมีสุขภาพจิตที่ดีในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

1.ทุกครัวเรือนจะต้องคัดแยกขยะก่อนทิ้ง โดยการคัดแยกขยะออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1.1 ขยะย่อยสลายได้ ได้แก่ เศษอาหาร เศษผักผลไม้ กิ่งไม้ ใบไม้ หญ้า เป็นต้น มีนโยบายให้ครัวเรือนจัการเอง โดยการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ 1.2 ขยะรีไซเคิล ได้แก่ แก้ว กระดาษ กระป๋องเครื่องดื่ม เศษพลาสติก เศษโลหะ หรือวัสดุเหลือใช้ซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ มีนโยบายให้ครัวเรือนนำขยะรีไซเคิลไปขายให้กับธนาคารขยะของหมู่บ้าน 1.3 ขยะทั่วไป ได้แก่ ถุงพลาสติก ซองบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ห่อขนมลูกอม ซองขนม ห่อพลาสติก เป็นต้น มีนโยบายรวบรวมทิ้งที่ศูนย์ซื้อขยะรีไซเคิลทุกวันที่ 10 ของเดือนและส่งต่อให้เทศบาลกำจัดอย่างถูกหลักสุขาภิบาล 1.4 ขยะอันตราย ได้แก่ ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ แตเตอรี่ ภาชนะบรรจุสารกำจัดศัตรูพืช ภาชนะบรรจุน้ำยาทำความสะอาดชนิดต่าง ๆ กระป๋องสเปรย์บรรจุสีหรือสารเคมี เป็นต้น มีนโยบายรวบรวมไว้ที่ศนย์จัการขยะรีไซเคิล และส่งต่อให้เทศบาลไปกำจัด 2. ทุกคนจะต้องทิ้งขยะให้ถูกที่ ห้ามทิ้งขยะตามที่สาธารณะต่าง ๆ เช่น ถนน แหล่งน้ำ ห้วยหนอง คลอง บึง หากฝ่าฝืน จะถูกปรับ 500 บาท ถ้าหมู่บ้านอื่นนำขยะทิ้งในที่สาธารณบ้านหนองแดง ปรับ 1,000 บาท สำหรับผู้ที่พบเห็นมาแจ้งการทิ้งขยะในสถานที่ห้ามในหมู่บ้าน จะได้รับเงินรางวัลครึ่งหนึ่งของค่าปรับ 3. ลดการใช้ถุงพลาสติกในงานพิธีต่าง ๆ ของหมู่บ้านโดยใช้กระติ๊บข้าวแทนการใช้ถุงพลาสติก ห่อข้าว เป็นต้น 4.ส่งเสริมให้เกิดความรู้ ความเข้าใจของประชาชนเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยโดยมีการสาธิต และติดตามผลจากคณะกรรมการหมู่บ้านเป็นประจำ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
  1. หน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาล แม่จริม ให้ความรู้ในการลดใช้เครื่องปรุงอาหารเช่น ซอสซีอิ๊วกะปิน้ำปลา เพื่อเป็นการลดปริมาณขยะของภาชนะบรรจุภัณฑ์
  2. กศน. สอนทำน้ำยาล้างจานสบู่สอนเพาะเห็ดนางฟ้า จัดการขยะตามมติของหมู่บ้านสนับสนุนงบประมาณ อบรมให้ความรู้พื้นที่ต้นแบบ
  3. ศพด. ลดปริมาณขยะโดยวิธีการกินขนมให้หมด ลดการใช้แพมเพิสไม่ให้นำขนมเข้ามารับประทานลิ้นเป็นผลไม้และขนมไทย สอนเด็ก คัดแยกขยะจัดการขยะและจัดการกล่องนมโดยการนำมารีไซเคิล ปลูกฝังเด็กในการจัดการขยะ ในครัวเรือน
  4. วัด สนับสนุนให้ชุมชนใช้ปิ่นโตนำอาหารไปถวายพระ ลดการใช้ถุงพลาสติกใส่อาหารถวายพระ จัดการขยะภายในวัดตามมติของหมู่บ้าน เป็นต้นแบบของการจัดการขยะ
  5. ผู้ใหญ่บ้าน มีบทบาทแนะนำการคัดแยกขยะให้กับลูกบ้าน เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน กำหนดกฎระเบียบของหมู่บ้านในการจัดการขยะ เป็นต้นแบบตัวอย่างในการปลูกผักกินเองการใช้ปุ๋ยอินทรีย์การจัดการขยะ การเลี้ยงปลาหรือไก่ให้กับชุมชน มอบหมายภารกิจการจัดการขยะให้กับผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหัวหน้าคุมไปดำเนินการให้ครอบคลุม แต่งตั้งคณะกรรมการ กำหนดบทบาทหน้าที่ และมีการติดตามการดำเนินงานในชุมชน ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายทางสื่อออนไลน์เช่น กลุ่มไลน์ ต่างๆ กำหนดวาระไว้ในการประชุมประจำเดือน และมีการติดตามทุกเดือน ทุกครัวเรือนต้องเข้าร่วมประชุมเพื่อรับการติดตามการจัดการขยะในหมู่บ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การวางแผนปฎิบัติการ ตามขั้นตอน ดังนี้ 1.ประชาสัมพันธ์โครงการ 2.อบรมให้ความรู้การจัดการขยะย่อยสลาย 3.ประชุมคณะทำงานเพื่อดำเนินงานและติดตามงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 4.เวทีสรุปบทเรียน 5. ติดตามการจัดการขยะย่อยสลาย 6. สร้างเยาวชนจิตอาสา รักษาสิ่งแวดล้อม 7. กิจกรรมถุงผ้าจ่ายตลาด 8. ตลาดนัดขยะรีไซเคิล 9. กลุ่มพืชผักปลอดสารพิษ 10. Big Cleaning Day

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

บุคลากรในชุมชน ได้แก่ อบต. ผู้ใหญ่บ้าน อสม. แกนนำครอบครัว เป็นต้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
  1. ใช้ปุ๋ยหมักจากขยะย่อยสลายในการบำรุงพืชผักที่ปลูกในกลุ่ม
  2. การจัดการขยะย่อยสลายด้วยวิธีการทำปุ๋ยหมักในท่อซีเมนต์ สนับสนุนวัสดุในการทำปุ๋ยหมักในท่อซีเมนต์
  3. การจัดการขยะในครัวเรือน 4 ประเภท

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการประเมินผล โครงการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต.หนองแดง อ.แม่จริม จ.น่าน จังหวัด น่าน

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ดร.มาโนชญ์ ชายครอง ดร.วิชาภรณ์ คันทะมูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด