ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการประเมินผลโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ต.ช่อแฮ อ.เมือง จ.แพร่

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการประเมินผลโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ต.ช่อแฮ อ.เมือง จ.แพร่ ”

ตำบลช่อแฮ อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่

หัวหน้าโครงการ
เพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ และผศ.ดร.ศิริพร พันธุลี

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผลโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ต.ช่อแฮ อ.เมือง จ.แพร่

ที่อยู่ ตำบลช่อแฮ อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 10 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินผลโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ต.ช่อแฮ อ.เมือง จ.แพร่ จังหวัดแพร่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช่อแฮ อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผลโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ต.ช่อแฮ อ.เมือง จ.แพร่



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อออกแบบกระบวนการติดตามและประเมินผลแบบมีส่วนร่วม (2) 2. เพื่อเสริมพลังพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ศึกษาสถานการณ์และรายละเอียดโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลช่อแฮ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ในพื้นที่และชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ (2) 2.ออกแบบติดตามประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม (3) 3.จัดเวทีชวนคิด ชวนคุย ถอดบทเรียนเชิงประเด็นเรื่องแนวทางการติดตามและประเมินผลโครงการ (4) 4.1ติดตามเยี่ยมครั้งที่1 ติดตามเยี่ยมเสริมพลังพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่ (5) 4.2 ติดตามเยี่ยมครั้งที่2 ผลลัพธ์การดำเนินงานของโครงการ (6) 5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสรุปบทเรียนและคืนข้อมูล (7) ถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบัน กระบวนทัศน์ใหม่ในการประเมินโครงการ มุ่งเน้นเป็นการประเมินผลลัพธ์ที่ให้ความสำคัญต่อกระบวนการกำหนดคุณค่าของโครงการที่ดำเนินการเพื่อการเรียนรู้และการพัฒนา ด้วยการสรุปอ้างอิงจากสิ่งที่สังเกตได้ผ่านการออกแบบเครื่องมือในการประเมินผลร่วมกันกับชุมชนในการกำหนดตัวบ่งชี้คุณค่านั้นผ่านการการติดตามเป็นระยะตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ที่สะท้อนให้เห็นการเปลี่ยนแปลงเล็ก ๆ ระหว่างทางที่เกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องเพื่อนำมาเปรียบเทียบกับตัวชี้วัดและแนวทางที่ใช้ตัดสินคุณค่าภายใต้บริบทชุมชนในโครงการที่ศึกษา ดังนั้นการประเมินรูปแบบใหม่จึงเป็นมากกว่าการประเมินเพื่อให้ผู้ให้ทุนได้รู้ผล หากแต่เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาคนทำโครงการให้เกิดการเรียนรู้ร่วมด้วยโดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ การสร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสุขภาพของคนในชุมชนและเกิดการเรียนรู้ร่วมกันภายใต้บริบทชุมชนที่มีความเฉพาะเพื่อสนองตอบต่อความต้องการของผู้คนในชุมชนที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นพลวัตร ทั้งนี้ ปัญหาการประเมินผลที่ผ่านมา พบว่า เป็นการประเมินผลเพียงดูจากกิจกรรมที่สอดรับกับวัตถุประสงค์และกิจกรรมเท่านั้น โดยแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการไม่ได้มีส่วนร่วมในการออกแบบแนวทางในการประเมินผล ขาดพลังที่สร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมและความต่อเนื่องในการทำโครงการเพื่อสานสู่ความยั่งยืนในพื้นที่ อีกทั้ง การประเมินแบบเดิมยังขาดการวิเคราะห์และการประเมินความเสี่ยงความเป็นไปได้ของโครงการ รวมถึงขาดการให้ข้อแนะนำแก่ผู้ดำเนินโครงการแบบเสริมพลังเพื่อยกระดับการดำเนินงานที่สร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและสร้างการมีส่วนร่วมให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้ประเมินกับผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่ได้อย่างแท้จริง
ดังนั้น จึงจัดทำโครงการติดตามประเมินผลโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลช่อแฮ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ ขึ้นเพื่อให้เกิดการติดตามประเมินผลรูปแบบใหม่เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง นำไปใช้ประโยชน์ในสังคมได้อย่างแท้จริงและสามารถนำผลการดำเนินงานที่ผ่านมาเป็นแนวทางในการแก้ไข ปรับปรุง และการจัดทำโครงการใหม่ให้เกิดความต่อเนื่องทั้งองคาพยพอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อออกแบบกระบวนการติดตามและประเมินผลแบบมีส่วนร่วม
  2. 2. เพื่อเสริมพลังพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ศึกษาสถานการณ์และรายละเอียดโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลช่อแฮ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ในพื้นที่และชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ
  2. 2.ออกแบบติดตามประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม
  3. 3.จัดเวทีชวนคิด ชวนคุย ถอดบทเรียนเชิงประเด็นเรื่องแนวทางการติดตามและประเมินผลโครงการ
  4. 4.1ติดตามเยี่ยมครั้งที่1 ติดตามเยี่ยมเสริมพลังพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่
  5. 4.2 ติดตามเยี่ยมครั้งที่2 ติดตามผลลัพธ์การดำเนินงานของโครงการ
  6. 5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสรุปบทเรียนและคืนข้อมูลการติดตามประเมินผลแบบเสริมพลัง
  7. ถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. ศึกษาสถานการณ์และรายละเอียดโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลช่อแฮ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ในพื้นที่และชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ

วันที่ 9 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ ร่วมศึกษาสถานการณ์และรายละเอียดของโครงการร่วมกับแกนนำในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีมผู้ดำเนินการโครงการยินดีเข้าร่วมกิจกรรมการประเมินเสริมพลัง และจากการสังเกตและสัมภาษณ์แกนนำ พบว่า ชมรมมีข้อมุลคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นของสมาชิก ที่จัดทำโดยรพสต. มีรูปแบบการบูรณาการการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพตามกิจกรรมโครงการคือประชุม จัดสันทนาการโดยสมาชิกชมรมและมีแกนนำของชมรมที่มีความรู้และทักษะเบื้องต้นในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน มีการติดตามผู้ป่วยตามกำหนดที่วางไว้ โดยระหว่างการติดตามค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ขณะออกเยี่ยมและทีมงานของผู้ดำเนินโครงการได้ให้คำแนะนำการบริการของรพสต.ช่อแฮแก่ผู้ป่วยและญาติเพิ่มเติม

 

20 0

2. 2.ออกแบบติดตามประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม

วันที่ 8 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมดำเนินการออกแบบการติดตามประเมินผลร่วมกับแกนนำโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และประชุมกลุ่มย่อยร่วมทวนสอบบันไดผลลัพธ์อย่างมีส่วนร่วมกับแกนนำชุมชนตำบลช่อแฮ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดเวทีสนทนากลุ่มแกนนำชุมชนตำบลช่อแฮในการร่วมวางแผนการติดตามประเมินผลและบันไดผลลัพธ์ในการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุตำบลช่อแฮ จากการจัดเวทีดังกล่าวฯ พบว่า แกนนำมีความเข้าใจในกระบวนการติดตามผลโครงการอย่างมีระบบและมีการปรับแผนในการติดตามประเมินผลและบันไดผลลัพธ์ในพื้นที่ให้สอดคล้องกับบริบท

 

10 0

3. 3.จัดเวทีชวนคิด ชวนคุย ถอดบทเรียนเชิงประเด็นเรื่องแนวทางการติดตามและประเมินผลโครงการ

วันที่ 15 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ค้นหาปัญหาและถอดบทเรียนแนวทางการติดตามประเมินผลโครงการร่วมกับแกนนำชุมชนเพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนเชิงประเด็นเรื่องแนวทางการติดตามประเมินผลโครงการในระดับพื้นที่ร่วมกับแกนนำชุมชน

 

20 0

4. 4.1ติดตามเยี่ยมครั้งที่1 ติดตามเยี่ยมเสริมพลังพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่

วันที่ 20 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเยี่ยมครั้งที่1 ติดตามเยี่ยมเสริมพลังพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เสริมพลังการจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์แก่แกนนำในพื้นที่ และแนวทางการบริหารจัดการโครงการด้านการเงิน ด้านผลผลิตและผลลัพธ์เพื่อให้สอดร้บตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้

 

15 0

5. 4.2 ติดตามเยี่ยมครั้งที่2 ติดตามผลลัพธ์การดำเนินงานของโครงการ

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมรับฟังการนำเสนอสรุปผลลัพธ์การดำเนินงานของโครงการที่ผ่านมาโดยแกนนำชุมชนแก่สมาชิกชมสูงอายุตำบลช่อแฮ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ซึ่งสามารถดำเนินการได้ตามเกณฑ์และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ทั้ง 3 คือ

  1. เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชมรมผู้สูงอายุตำบลช่อแฮมีศักยภาพเป็นกลไกสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน
  2. สร้างเครือข่ายดูแลสุขภาพผู้สูงอายุติดบ้าน/ติดเตียงตำบลช่อแฮและ
  3. ส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุ

โดยมีกิจกรรมดำเนินการได้ 8กิจกรรมจาก9 กิจกรรมตา,ช่วงเวลาที่กำหนดคือ

  1. ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุเดือนละ 1 ครั้ง
  2. การอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ
  3. การสำรวจและจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชน,ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ
  4. การอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเองโดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน,ดูแลสุขภาพ กาย,ใจและสังคม โภชนาการ
  5. การอบรมให้ความรู้อาสาสมัครเครือข่ายดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน/ติดเตียง
  6. การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชนโดยอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ
  7. กิจกรรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้สูงอายุติดบ้าน/โรคเรื้อรัง
  8. กิจกรรมติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

15 0

6. 5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสรุปบทเรียนและคืนข้อมูลการติดตามประเมินผลแบบเสริมพลัง

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

รับฟังการแลกเปลี่ยนข้อมูลจากชมรมสูงอายุตำบลช่อแฮและแกนนำ ทีมประเมินให้ข้อมูลสรุปบทเรียนคืนข้อมูลและชื่นชมให้กำลังใจแกนนำรับฟังข้อเสนอแนะจากชมรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามประเมินผล พบว่าinput ของโครงการพบว่าสถานการณ์ปัญหาผู้สูงอายุช่อแฮในส่วนบริบทที่มีเฉพาะข้อมูลพื้นฐานจำนวนประชากรสูงอายุซึ่งยังขาดข้อมูลด้านเศรษฐานะของกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลการเจ็บป่วยระดับปัจเจก สภาวะทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของชุมชน ภาวะโรคมีการคัดกรองและทำข้อมูลพื้นฐานที่ชัดเจนทั้งก่อนและหลัง ข้อมูลโครงการมีความครอบคลุมตามโครงสร้างของโครงการ ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์ งบประมาณ 100,000บาท ผลสรุปการดำเนินงาน ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบและวิเคราะห์คุณค่า ดังนี้ -กิจกรรม มี 9 ดำเนินการตามแผนได้ 8 กิจกรรมโดยบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่1คือ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชมรมผู้สูงอายุตำบลช่อแฮมีศักยภาพเป็นกลไกสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชนโดย เกิดแกนนำชมรมผู้สูงอายุที่เข้าใจเรื่องการสร้าง เสริมสุขภาพและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้ จำนวน 30 คน มีสมาชิกชมรมผู้สูงอายุมีความรู้และความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพตนเองจำนวน 50 คน ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็ง สามารถทำกิจกรรมได้ตามข้อตกลง และติดตามผลการดำเนินงานของชมรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำนวน1ชมรม มีการประชุมอย่างต่อเนื่องทุกเดือนจำนวน 8 ครั้งและสมาชิกชมรมผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง จำนวน 40 คน บรรลุวัตถุประสงค์ที่ 2 เพื่อสร้างเครือข่ายดูแลสุขภาพผู้สูงอายุติดบ้าน/ติดเตียงตำบลช่อแฮ โดยเกิดเครือข่ายสุขภาพผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
จำนวน 1 เครือข่ายและเครือข่ายสุขภาพร่วมกับ อสม.มีการดูแลเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงเดือนละ1ครั้งจำนวน 127 คน บรรลุวัตถุประสงค์ที่ 3เพื่อส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุโดย เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้สูงอายุติดบ้าน/โรคเรื้อรัง(เบาหวาน/ความดัน/หัวใจและหลอดเลือด)ร้อยละ80และกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่กลายเป็นผู้ป่วยติดเตียงและสามารถกลับเป็นผู้สูงอายุติดสังคมได้ ร้อยละ5 กิจกรรมที่ 9 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน ยังไม่ได้ดำเนินการ วิเคราะห์คุณค่า เกิดแกนนำชมรมผู้สูงอายุที่เข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและออกแบบกิจกรรมได้ สมาชิกชมรมผู้สูงอายุตำบลช่อแฮมีความรู้และตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งสามารถทำกิจกรรมได้ตามข้อตกลงและติดตามผลการดำเนินงานของชมรมอย่างมีประสิทธิภาพ สมาชิกชมรมผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง

 

20 0

7. ถอดบทเรียน

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการถอดบทเรียนทีมแต่ละโครงการ การนำเสนอกรอบการประเมินจากแต่ละทีมนำเสนอปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นำข้อมูลโครงการติดตามประเมินแต่ละพื้นที่คีย์ข้อมูลลงโปรแกรมm&e. นำเสนอความก้าวหน้าการฝึกติดตามประเมินผล ในพื้นที่ แลกเปลี่ยน แบ่งปันประสบการณ์ภาพรวมมีความก้าวหน้าการดำเนินการมากกว่าร้อยละ 70  เทคนิคการคีย์ข้อมูลในระบบออนไลน์. บทเรียน ของทีม แพร่ นำข้อมูลของแต่ละทีม บันทึกข้อมูลในระบบออนไลด์ เรียนรู้ไปพร้อมกันฝึกการลงข้อมูลของจริงเลยในภาคบ่ายโดยทีม พี่เลี้ยงสจรส. สะท้อนปัญหาแบะอุปสรรคในการคีย์ข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ และแนวทางในการแก้ไขและพัฒนาระบบข้อมูลและชี้แจง จัดทำหลักฐานเพื่อประกอบการเบิกเงินงวดสุดท้าย

 

2 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อออกแบบกระบวนการติดตามและประเมินผลแบบมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : เกิดรูปแบบการติดตามประเมินผลเสริมพลังแบบมีส่วนร่วม
1.00 1.00

 

2 2. เพื่อเสริมพลังพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการ
ตัวชี้วัด : เกิดแกนนำการติดตามประเมินผลเสริมพลังแบบมีส่วนร่วม
5.00 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อออกแบบกระบวนการติดตามและประเมินผลแบบมีส่วนร่วม (2) 2. เพื่อเสริมพลังพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ศึกษาสถานการณ์และรายละเอียดโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลช่อแฮ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ในพื้นที่และชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ (2) 2.ออกแบบติดตามประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม (3) 3.จัดเวทีชวนคิด ชวนคุย ถอดบทเรียนเชิงประเด็นเรื่องแนวทางการติดตามและประเมินผลโครงการ (4) 4.1ติดตามเยี่ยมครั้งที่1 ติดตามเยี่ยมเสริมพลังพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่ (5) 4.2 ติดตามเยี่ยมครั้งที่2 ผลลัพธ์การดำเนินงานของโครงการ (6) 5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสรุปบทเรียนและคืนข้อมูล (7) ถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผลโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ต.ช่อแฮ อ.เมือง จ.แพร่

ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2561 - 10 มีนาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

บูรณาการการใช้เครื่องมือในการประเมินแบบเสริมพลัง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ได้รูปแบบการติดตามประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในระดับพื้นที่

 

ขยายใช้ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การติดตามเยี่ยมผู้ป่วยติดเตียงที่มีพระสงฆ์ร่วมเยี่ยม

รูปภาพการติดตามเยี่ยมในกิจกรรมที่4

ขยายให้ติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีการออกกำลังกายส่วนบุคคลของสมาชิกชมรมอย่างต่อเนื่องที่บัาน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

การออกกำลังกายอย่างสมำ่เสมอ 3วันต่อสัปดาห์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

การเชื่่อมโยงเครือข่ายการเยี่ยมบ้านต่อเนื่อง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ในเดือนกพใมีจังหวัดขอมาดูงานของชมรม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการประเมินผลโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ต.ช่อแฮ อ.เมือง จ.แพร่ จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ และผศ.ดร.ศิริพร พันธุลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด