ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์
ภายใต้โครงการ แผนงานติดตามและประเมินผลโครงการ ภาคเหนือ ปี62
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ 1 พฤศจิกายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 พฤศจิกายน 2561 - 15 มีนาคม 2562
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์
ผู้รับผิดชอบโครงการ ผศ.ชยภรณ บุญเรืองศักดิ์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ รศ.สุณี บุญพิทักษ์ และนางสาวปิยาภรณ์ ใจแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
ละติจูด-ลองจิจูด 15.854878819485,100.08336782455place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 พ.ย. 2561 31 ม.ค. 2562 15 พ.ย. 2561 31 ม.ค. 2562 15,000.00
2 1 ก.พ. 2562 15 มี.ค. 2562 5,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
อาหารและโภชนาการ , กิจกรรมทางกาย , โรคเรื้อรัง , อื่นๆ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
60.00
2 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามแนวคิดหลักของการพัฒนาสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ดังนั้นจึงมีการกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการได้แก่ ด้านสุขภาพจิต การออกกำลังกาย การอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาหารสะอาดปลอดภัย ซึ่งจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีด้วย ปัจจัยพื้นฐานด้านอาหารนับว่าเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน การจัดการอาหารที่ดี นอกจากจะคำนึงถึงรสชาติและ ยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะคำนึงถึงรสชาติแล้ว ยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญในรอบสามเดือนที่ผ่านมา พบผู้ที่ไปซื้อผลิตภันฑ์ทางด้านอาหารในตลาดสดเก้าเลี้ยว มีอาการท้องเสีย จำนวน 20 คนและอาหารเป็นพิษจำนวน 5 ราย ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร เจ้าของร้านขายของชำ รวมถึง อสม. ต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารทุกขั้นตอน และตระหนักถึงความสำคัญในการประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ดังนั้นกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเก้าเลี้ยว มองเห็นว่าในตลาดเก้าเลี้ยว มีร้านชำ ร้านขายอาหาร จำนวน 120 แห่ง ได้เห็นความสำคัญของการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ให้ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐานและผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการที่ได้เข้ามาใช้บริการในการซื้อสินค้าเพื่อนำไปอุปโภคและบริโภคและเป็นการเฝ้าระวังให้ตลาดสดในตำบลเก้าเลี้ยวและผู้ประกอบการในการขายอาหารให้มีมาตรฐานในการให้บริการต่อผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว ประจำปี 2561 เพื่อไม่ให้ผู้บริโภคได้รับอันตรายหรือพิษภัยจากอาหาร ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร เพื่อนำไปสู่ตำบลที่คนในชุมชนมีความสุขทั้งทางกาย ทางใจ ทางสุขภาพและการอานามัยสิ่งแวดล้อม นำไปสู่สุขภาพที่ดีในการบริโภคอาหาร

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

โครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ ร่วมสร้าง ร่วมทำ ร่วมรับผลประโยชน์ เข้าใจและร่วมมือจัดการในการขับเคลื่อนและดำเนินในการดูแลและให้เกิดความพึงพอใจ ในการให้บริการทางด้านอาหารปลอดภัย และนำเก้าเลี้ยวไปสู่ตำบลการให้บริการในเรื่องโภชนาการอาหารปลอดภัยอย่างเหมาะสม และเป็นตำบลต้นแบบในอำเภอเก้าเลี้ยวทางด้านอาหารปลอดภัย ตลอดจยทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในตำบลขยายเครือข่ายสู่ตำบลอื่นในอำเภอเก้าเลี้ยว ทั้งนี้ เพื่อให้ชุมชนได้ใช้ประโยชน์จากโครงการ อาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์อย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนกิจกรรมและวิธีดำเนินงานของโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์

 

1.00
2 เพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์

 

1.00
3 เพื่อประเมินความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนกิจกรรมและตัวชี้วัดผลลัพธ์ของโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์

 

1.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 173
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน 120 0
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 30 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -
คณะทำงาน 20 0
ร้านค้าในชุมชน 3 0
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 24,300.00 9 20,000.00
14 พ.ย. 61 ประชุมหารือแนวทางการประเมินผลโครงการ (แนะนำทีม/วิเคราะห์โครงการที่จะประเมินผล) 0 1,800.00 1,800.00
1 ธ.ค. 61 ประชุมปรึกษาหารือ เพื่อกำหนดกรอบและแนวทางการประเมินโครงการ ครั้งที่ 1 0 2,100.00 2,400.00
2 ธ.ค. 61 ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์แกนนำที่บริหารโครงการ 0 10,000.00 2,800.00
2 ธ.ค. 61 ประสานงานกับเครือข่ายเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อประเมินโครงการ 0 0.00 2,500.00
26 ธ.ค. 61 ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1 0 3,500.00 2,500.00
10 ม.ค. 62 ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2 0 3,200.00 2,500.00
15 ม.ค. 62 ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 3 0 0.00 2,500.00
10 มิ.ย. 62 ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 4 0 2,200.00 1,500.00
10 มิ.ย. 62 คืนข้อมูลให้กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและผู้ที่เกี่ยวข้อง 0 1,500.00 1,500.00

กิจกรรมที่ 1 ประชุมหารือแนวทางการประเมินผลโครงการ (แนะนำทีม/วิเคราะห์โครงการที่จะประเมินผล) ประชุมเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อรับทราบโครงการ พร้อมแต่งตั้งคณะทำงาน กิจกรรมที่ 2 การรวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลโครงการ กิจกรรมที่ 3 การประชุมติดตามผลการขับเคลื่อนงาน (การพัฒนาศักยภาพให้ความรู้, การสร้างกติกาชุมชน, การแต่งตั้งกลไกการติดตาม, การจัดมหกรรมอาหารปลอดภัย) กิจกรรมที่ 4 การลงพื้นที่ติดตาม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการสรุปบทเรียน

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกิดคณะทำงานที่มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถ ในการขับเคลื่อนงาน
  2. มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคทางด้านอาหารผู้ใช้บริการในชุมชนตำบลเก้าเลี้ยว ให้ถูกสุขลักษณะทางโภชนาการทางด้านอาหาร
  3. มีการปรับปรุงสถานที่ขายอาหารรวมถึงการแต่งกายของผู้ประกอบการอาหารทางด้านผลิตสินค้าบริโภคให้ถูกสุขลักษณะตามหลักโภชนาการ
  4. มีข้อตกลงผู้ผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภคมีมาตรฐานในการผลิตสินค้าก่อนที่จะออกจำหน่ายให้กับคนในชุมชนตำบลเก้าเลี้ยว รวมถึงมีการตรวจสอบคุณภาพสินค้า ที่นำมาจำหน่าย ตรวจสอบน้ำมันในการผลิตสินค้ามีการนำน้ำมันมาใช้ซ้ำหรือไม่ โดยผ่านกะบวนการในการสำรวจหาชื้อแบคทีเรีย หาสารปนเปื้อนในอาหารสดผักสดในตลาดเก้าเลี้ยว ร้านไหนผ่านเกณฑ์ในการตรวจสอบ ก็จะทำป้ายติดหน้าร้านให้เห็นเด่นชัด
  5. เสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้บริโภคในเรื่องสุขภาพในเรื่องอาหารการกินของประชาชนในตำบลเก้าเลี้ยว ุ6. ร้านอาหารตามสั่งจำนวน 5 ร้าน มีความรู้เรื่องการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพ
  6. คนในชุมชนหันมาบริอาหารปลอดภัยและนำไปสู่แผนภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 พ.ย. 2561 21:51 น.