โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์
คืนข้อมูลให้กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันตรวจสอบและสอบทานข้อมูลก่อนนำไปจัดทำรายงานการประเมินผลโครงการ
ร่วมกันตรวจสอบและสอบทานข้อมูลก่อนนำไปจัดทำรายงานการประเมินผลโครงการ และร่วมสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ปัญหา อุปสรรคจากการดำเนินโครงการ และแนวทางการปรับปรุงโครงการ
ประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ ดังนี้ (1) ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน (2) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ (3) การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ (4) ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน (5) กระบวนการชุมชน และ (6) มิติสุขภาวะปัญญา สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
วิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ
วิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า พร้อมแนวทางการพัฒนาต่อ ประกอบด้วย (1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับคน กลุ่มคน เครือข่าย (2) การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ และ (3) การเปลี่ยนกลไกและกระบวนการในชุมชนที่เอื้อต่อสุขภาวะ
การประเมินผลการดำเนินงาน (Performance Product Evaluation)
ประเมินผลการดำเนินงาน (Performance Product Evaluation) ประกอบด้วย (1) วัตถุประสงค์ หรือตัวชี้วัด (Indicator) สถานการณ์ เป้าหมาย (2) ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ และ (3) ข้อสังเกตที่สำคัญ
ติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) และติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
การติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) ของโครงการ ได้แก่ (1) การนำใช้ข้อมูลชุมชนในการดำเนินโครงการ (2) ความสอดคล้องและการทบทวนแผนที่มีอยู่เดิม (แผนชุมชน แผนของท้องถิ่น แผนของหน่วยงาน แผนอื่นๆ) กับการดำเนินโครงการ (3) ทุนของชุมชนที่มีส่วนสำคัญต่อการดำเนินงานของโครงการ (4) คน กลุ่มคน เครือข่ายสำคัญที่มีส่วนร่วมในโครงการ และ (5) งบประมาณและทรัพยากร รวมถึงดำเนินการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation) ประกอบด้วย (1) กิจกรรมของโครงการ (2) ระยะเวลา (3) เป้าหมาย วิธีการ (5) ผลการดำเนินงาน และ (6) ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์แกนนำที่บริหารโครงการ
ดำเนินการสัมภาษณ์ สนทนากลุ่มแกนนำที่บริหารโครงการ ตามกรอบการติดตามและประเมินผล (ตามแนวทางของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), กฎบัตรออตตาวา (OTTAWA Charter) และบริบทของพื้นที่) รวมถึงการประชุมคณะทำงานและการมอบหมายบทบาทหน้าที่ร่วมกัน
- ชี้แจงกรอบการประเมินผล
- นัดหมายผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง
ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการติดตามประเมินผล ดังนี้ (1) ความเป็นมา (2) วัตถุประสงค์ในการประเมิน (3) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญและผู้เกี่ยวข้องกับการประเมิน (4) ระยะเวลาดำเนินการประเมิน
- สอบทานข้อมูลโครงการ เพื่อวิเคราะห์กิจกรรมของโครงการ จำแนกตามปัจจัยกำหนดภาวะสุขภาพ และ OTTAWA Charter
- ยกร่างแบบฟอร์มในการบันทึกข้อมูล และแนวทางการติดตามและประเมินผล
- จัดทำกรอบการติดตามและประเมินผล
- วิเคราะห์กิจกรรมของโครงการ จำแนกตามปัจจัยกำหนดภาวะสุขภาพ และ OTTAWA Charter
- ยกร่างแบบฟอร์มในการบันทึกข้อมูล และแนวทางการติดตามและประเมินผล
- จัดทำกรอบการติดตามและประเมินผล
- แนะนำโครงการ และทีมประเมิน
- ศึกษาบริบทโครงการ แผนการดำเนินงาน กิจกรรม ตัวชี้วัดโครงการ
- ผู้รับผิดชอบโครงการ (พื้นที่) นำเสนอกรอบการดำเนินงาน
- สร้างความคุ้นเคย พร้อมแนะนำโครงการประเมิน และทีมประเมิน
- ทราบบริบทโครงการ แผนการดำเนินงาน กิจกรรม ตัวชี้วัดโครงการ
- ผู้รับผิดชอบโครงการ (พื้นที่) นำเสนอกรอบการดำเนินงาน