โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์
ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2561 - 15 มีนาคม 2562
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
ร้านอาหารตามสั่ง มีการจัดทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ
ร้านอาหารตามสั่งจำนวน 5 ร้าน
ขยายผลไปยังร้านอาหารตามสั่งร้านอื่นๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
บุคลากรด้านสุขภาพในภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพชุมชน โดยมาร่วมวางแผน ออกแบบวิธีการ และร่วมดำเนินการ ติดตามประเมินผลการทำงานร่วมกับบุคลากรด้านสุขภาพในภาควิชาชีพ และหน่วยงานภาครัฐ
บทบาทหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (หมู่ 2 ชุมชนเก้าเลี้ยว) เป็นผู้นำในการดำเนินโครงการร่วมกับสมาชิก อสม. และหน่วยงานในพื้นที่
ขยายเครือข่ายความร่วมมือ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการทำงานแบบมีส่วนร่วม ทั้งจากองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในพื้นที่ ด้านอาหารปลอดภัย
โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเก้าเลี้ยว วัดเก้าเลี้ยว ร้านค้าในชุมชน
ขยายเครือข่ายความร่วมมือ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
มีแหล่งเรียนรู้ต้นแบบด้านการผลิตอาหารปลอดภัย
- กลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ
- กลุ่มปลูกผักปลอดภัย
- กลุ่มโรงสีข้าวชุมชน
- กลุ่มขนมไทย
- กลุ่มส่งเสริมสมุนไพรไทย
การต่อยอดขยายผลไปยังพื้นที่ข้างเคียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ใช้บริการในชุมชนตำบลเก้าเลี้ยว ให้ถูกสุขลักษณะทางโภชนาการทางด้านอาหาร
จัดอบรมให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารในทุกขั้นตอน ให้กับผู้ให้บริการทางด้านอาหารและผู้ประกอบการในตำบลเก้าเลี้ยว
ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการอบรม (1 เดือน, 3 เดือน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
- การประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค
- การลด ละ การปรุงอาหารที่ใส่สารปรุงรส
จัดอบรมให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารในทุกขั้นตอน ให้กับผู้ให้บริการทางด้านอาหารและผู้ประกอบการในตำบลเก้าเลี้ยว
- ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร หลังการอบรม (1 เดือน, 3 เดือน)
- ติดตามพฤติกรรมการผลิตและจำหน่ายอาหารปลอดภัย หลังการอบรม (1 เดือน, 3 เดือน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
มีการปรับปรุงสถานที่ขายอาหารรวมถึงการแต่งกายของผู้ประกอบการอาหารทางด้านผลิตสินค้าบริโภคให้ถูกสุขลักษณะตามหลักโภชนาการ
ร้านอาหารตามสั่ง จำนวน 5 ร้าน มีการจัดทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ
ขยายผลไปยังสถานที่จำหน่าย/ผลิตอาหารร้านอื่นๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
มีข้อตกลงผู้ผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภคมีมาตรฐานในการผลิตสินค้าก่อนที่จะออกจำหน่ายให้กับคนในชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพสินค้า ที่นำมาจำหน่าย ตรวจสอบน้ำมันใช้ซ้ำหรือไม่ โดยผ่านกระบวนการในการสำรวจหาชื้อแบคทีเรีย หาสารปนเปื้อนในอาหารสดผักสดในตลาดเก้าเลี้ยว ร้านไหนผ่านเกณฑ์ในการตรวจสอบ ก็จะทำป้ายติดหน้าร้านให้เห็นเด่นชัด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวที่บ้าน (ตู้เย็นข้างบ้าน) ครัวเรือนละอย่างน้อย 3 ชนิด
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
เกิดการรวมกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อจำหน่ายพืช ผัก ที่ปลอดภัย ลดการใช้สารเคมี
กลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ, กลุ่มปลูกผักปลอดภัย, กลุ่มโรงสีข้าวชุมชน, กลุ่มขนมไทย, กลุ่มส่งเสริมสมุนไพรไทย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
การสนับสนุนบุคลากรและเจ้าหน้าที่ในการตรวจหาชื้อปนเปื้อนในอาหาร พร้อมข้อมูลผู้ที่ได้รับผลกะทบทางด้านสุขภาพทางด้านอาหาร
โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
มีการกำหนดกฎ กติกาชุมชน ในการขับเคลื่อนงานด้านอาหารปลอดภัย
เกิดกติกาชุมชนในการลด ละ การปรุงอาหารที่ใส่สารปรุงรส
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการทำงานแบบมีส่วนร่วม ทั้งจากองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในพื้นที่ ด้านอาหารปลอดภัย
โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเก้าเลี้ยว วัดเก้าเลี้ยว ร้านค้าในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
การคุ้มครองผู้บริโภคที่เหมาะสมกับบริบทในพื้นที่ตำบลเก้าเลี้ยว
การจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการทางด้านอุปโภคและบริโภคในตำบลเก้าเลี้ยว
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
มีแหล่งเรียนรู้ต้นแบบด้านการผลิตอาหารปลอดภัย
กลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ, กลุ่มปลูกผักปลอดภัย, กลุ่มโรงสีข้าวชุมชน, กลุ่มขนมไทย, กลุ่มส่งเสริมสมุนไพรไทย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
การจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการทางด้านอุปโภคและบริโภคในตำบลเก้าเลี้ยว
ข้อมูลร้านค้าหรือสถานที่จำหน่ายอาหารหรือสถานที่สะสมอาหารบริเวณตลาดเก้าเลี้ยว
จัดทำระบบข้อมูลร้านค้าหรือสถานที่จำหน่ายอาหารหรือสถานที่สะสมอาหารบริเวณตลาดเก้าเลี้ยว
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์
ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2561 - 15 มีนาคม 2562
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | ร้านอาหารตามสั่ง มีการจัดทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ |
ร้านอาหารตามสั่งจำนวน 5 ร้าน |
ขยายผลไปยังร้านอาหารตามสั่งร้านอื่นๆ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | บุคลากรด้านสุขภาพในภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพชุมชน โดยมาร่วมวางแผน ออกแบบวิธีการ และร่วมดำเนินการ ติดตามประเมินผลการทำงานร่วมกับบุคลากรด้านสุขภาพในภาควิชาชีพ และหน่วยงานภาครัฐ |
บทบาทหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (หมู่ 2 ชุมชนเก้าเลี้ยว) เป็นผู้นำในการดำเนินโครงการร่วมกับสมาชิก อสม. และหน่วยงานในพื้นที่ |
ขยายเครือข่ายความร่วมมือ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการทำงานแบบมีส่วนร่วม ทั้งจากองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในพื้นที่ ด้านอาหารปลอดภัย |
โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเก้าเลี้ยว วัดเก้าเลี้ยว ร้านค้าในชุมชน |
ขยายเครือข่ายความร่วมมือ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | มีแหล่งเรียนรู้ต้นแบบด้านการผลิตอาหารปลอดภัย |
|
การต่อยอดขยายผลไปยังพื้นที่ข้างเคียง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล | มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ใช้บริการในชุมชนตำบลเก้าเลี้ยว ให้ถูกสุขลักษณะทางโภชนาการทางด้านอาหาร |
จัดอบรมให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารในทุกขั้นตอน ให้กับผู้ให้บริการทางด้านอาหารและผู้ประกอบการในตำบลเก้าเลี้ยว |
ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการอบรม (1 เดือน, 3 เดือน) |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
จัดอบรมให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารในทุกขั้นตอน ให้กับผู้ให้บริการทางด้านอาหารและผู้ประกอบการในตำบลเก้าเลี้ยว |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง | มีการปรับปรุงสถานที่ขายอาหารรวมถึงการแต่งกายของผู้ประกอบการอาหารทางด้านผลิตสินค้าบริโภคให้ถูกสุขลักษณะตามหลักโภชนาการ |
ร้านอาหารตามสั่ง จำนวน 5 ร้าน มีการจัดทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ |
ขยายผลไปยังสถานที่จำหน่าย/ผลิตอาหารร้านอื่นๆ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน | มีข้อตกลงผู้ผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภคมีมาตรฐานในการผลิตสินค้าก่อนที่จะออกจำหน่ายให้กับคนในชุมชน |
การตรวจสอบคุณภาพสินค้า ที่นำมาจำหน่าย ตรวจสอบน้ำมันใช้ซ้ำหรือไม่ โดยผ่านกระบวนการในการสำรวจหาชื้อแบคทีเรีย หาสารปนเปื้อนในอาหารสดผักสดในตลาดเก้าเลี้ยว ร้านไหนผ่านเกณฑ์ในการตรวจสอบ ก็จะทำป้ายติดหน้าร้านให้เห็นเด่นชัด |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ | ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวที่บ้าน (ตู้เย็นข้างบ้าน) ครัวเรือนละอย่างน้อย 3 ชนิด |
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ | เกิดการรวมกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อจำหน่ายพืช ผัก ที่ปลอดภัย ลดการใช้สารเคมี |
กลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ, กลุ่มปลูกผักปลอดภัย, กลุ่มโรงสีข้าวชุมชน, กลุ่มขนมไทย, กลุ่มส่งเสริมสมุนไพรไทย |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ | การสนับสนุนบุคลากรและเจ้าหน้าที่ในการตรวจหาชื้อปนเปื้อนในอาหาร พร้อมข้อมูลผู้ที่ได้รับผลกะทบทางด้านสุขภาพทางด้านอาหาร |
โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน | มีการกำหนดกฎ กติกาชุมชน ในการขับเคลื่อนงานด้านอาหารปลอดภัย |
เกิดกติกาชุมชนในการลด ละ การปรุงอาหารที่ใส่สารปรุงรส |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) | เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการทำงานแบบมีส่วนร่วม ทั้งจากองค์กรชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในพื้นที่ ด้านอาหารปลอดภัย |
โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเก้าเลี้ยว วัดเก้าเลี้ยว ร้านค้าในชุมชน |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) | การคุ้มครองผู้บริโภคที่เหมาะสมกับบริบทในพื้นที่ตำบลเก้าเลี้ยว |
การจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการทางด้านอุปโภคและบริโภคในตำบลเก้าเลี้ยว |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง | มีแหล่งเรียนรู้ต้นแบบด้านการผลิตอาหารปลอดภัย |
กลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ, กลุ่มปลูกผักปลอดภัย, กลุ่มโรงสีข้าวชุมชน, กลุ่มขนมไทย, กลุ่มส่งเสริมสมุนไพรไทย |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ | การจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการทางด้านอุปโภคและบริโภคในตำบลเก้าเลี้ยว |
ข้อมูลร้านค้าหรือสถานที่จำหน่ายอาหารหรือสถานที่สะสมอาหารบริเวณตลาดเก้าเลี้ยว |
จัดทำระบบข้อมูลร้านค้าหรือสถานที่จำหน่ายอาหารหรือสถานที่สะสมอาหารบริเวณตลาดเก้าเลี้ยว |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||