ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการประเมินผล การจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการประเมินผล การจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ”

อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร

หัวหน้าโครงการ
คุณสมใจ ด้วงพิบูลย์ และ คุณอุไรวรรณ ตันฑอาริยะ

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล การจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร

ที่อยู่ อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 61-ข-008 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินผล การจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร จังหวัดชุมพร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผล การจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินผล การจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร รหัสโครงการ 61-ข-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพปัญหา: ปี 2561 อำเภอทุ่งตะโก เกิดอุบัติเหตุมากเป็นอันดับที่ 6 ของจังหวัด โดยเกิดอุบัติเหตุทั้งหมด 53 ครั้ง มีผู้เสียชีวิต 5 คน บาดเจ็บ 54 คน จำแนกเป็นตำบล มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ผู้เสียชีวิต 5 (ราย) ผู้บาดเจ็บ 54 (ราย)รวม 59 (ราย)ประกอบด้วย ตำบลทุ่งตะไคร (2,18,20) ตะโก(1,17,18) ช่องไม้แก้ว(1,11,13)ปากตะโก (1,7,8) จุดเสี่ยงที่เกิดเหตุ พบบ่อยบริเวณทางโค้งเชื่อมต่อกับคอสะพานถนนเพชรเกษม หลักกิโลเมตรที่ 48 หมู่ที่ 1 ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ลักษณะทางระบาดวิทยา เพศชาย เกิดอุบัติเหตุมากในช่วงอายุ 15-25 ปี ช่วงเวลาที่มักเกิดอุบัติเหตุสูงเวลา 18.00-22.00 น. ส่วนเพศหญิง เกิดอุบัติเหตุมากในช่วงอายุ 46-55 ปี ช่วงเวลาที่มักเกิดอุบัติเหตุมากเวลา 10.00-14.00 น.

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อประเมินผลการดำเนินงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. ติดตามประเมินผลโครงการในพื้นที่อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร
  3. ประชุมร่วมกับผู้รับผิดชอบโครงการ
  4. นำเสนอผลการประเมินในพื้นที่จริง
  5. ติดตามประเมินผลโครงการในพื้นที่อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ครั้งที่ 3
  6. ติดตามประเมินผลโครงการในพื้นที่อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ครั้งที่2
  7. ประชุมคณะกรรมการพัฒนาพชอ.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
คณะกรรมการโครงการ 10
ผู้ที่สัญจรผ่าน 100,000
ผู้มีส่วนได้เสีย 17,804

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทราบความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการทั้งด้าน ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบจากการดำเนินงานโครงการ 2.เป็นข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้นำไปใช้ในด้านการวางแผนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่ 3.ทราบปัญหา อุปสรรค เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการดำเนินงานในระยะที่เหลือให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 4.คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่และผู้ที่สัญจรผ่านดีขึ้นโดยมีความปลอดภัยจากอุบัติเหตุมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 11 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

เข้ารับการเรียนรู้ "การประชุมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรพัฒนาเครือข่ายนักประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคใต้"ซึ่งได้มีรูปแบบการประเมินผลโครงการด้วยรูปแบบต่างๆ เช่น การประเมินด้วย CIPP Model ,OTTAWA Charter, HIA , Balance Score Card , เสริมพลังอำนาจ ฯ พร้อมทั้งทดลองฝึกปฏิบัติโดยใช้พื้นที่จากจังหวัดสงขลา และได้มอบหมายให้ฝึกปฏิบัติจริงในจังหวัดชุมพร "โครงการการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร"

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการติดตามประเมินผลโครงการในพื้นที่ นำความรู้ไปออกแบบการประเมินในพื้นที่จริง ทั้งนี้ได้เลือกรูปแบบการประเมินโดยใช้เครื่องมือ HIAในการประเมิน

 

2 0

2. ประชุมร่วมกับผู้รับผิดชอบโครงการ

วันที่ 16 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมร่วมกับเครือข่ายสุขภาพจังหวัดชุมพร 1. ติดตามผลผู้รับผิดชอบโครงการในเวทีประชุมสมัชชาจังหวัดชุมพร ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ของการนำประเด็นต่าง ๆของจังหวัดชุมพรเข้าพุดคุยรวมทั้งการนำปัจจัยเสี่ยงทางด้านสุขภาพเข้าร่วมพุดคุย เช่น ประเด็นเหล้า-บุหรี่ และอุบัติเหตุทางถนนในจังหวัดชุมพร (ผู้รับผิดชอบโครงการรับผิดชอบเป็นผู้ประสานสมัชชาจังหวัดชุมพร)
2. ประชุมทีมผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานในช่วงบ่าย ด้วยการ 2.1 แนะนำตนเองในฐานะผู้เรียนรู้วิธีการประเมินโครงการ ขอรายละเอียดกิจกรรมโครงการและแผนการดำเนินงาน 2.2 ขอดูรายละเอียดกิจกรรม และรายงานต่าง ๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับทีมคณะทำงานและเครือข่ายสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร และทีมผู้รับผิดชอบโครงการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน

 

3 0

3. ติดตามประเมินผลโครงการในพื้นที่อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพรครั้งที่ 1

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

น.ส.อุไรวรรณ ตันฑอาริยะ –นางสมใจ ด้วงพิบูลย์ พบผู้รับผิดชอบโครงการและทีมงาน เพื่อ 1. ติดตามความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน  โดยพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการ ทำให้ทราบว่ากิจกรรมไม่เป็นไปตามแผนงานที่กำหนด
2. ศึกษาจุดเสี่ยงที่สำคัญในอ.ทุ่งตะโก ประกอบด้วยวัดเทพนิมิต วิทยาเกษตรตะโก  จุดกลับรถบริเวณปั๊มบางจาก (สวนนายดำ) สี่แยกเขาปีบ เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ทราบว่ากิจกรรมต้องมีการปรับให้สอดคล้องกับบริบท
  2. ประชาชนในพื้นที่ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดทำทางเลี่ยงบริเวณวัดเทพนิมิตรสายปากทางเข้าถนนสายวิทยาลัยเกษตร-บ้านเขากรด และทำลอนสีแดงบริเวณทางโค้ง

 

10 0

4. ติดตามประเมินผลโครงการในพื้นที่อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ครั้งที่2

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

ผู้ประเมินลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินโครงการการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน โดยการสอบถามผู้ที่เกี่ยวข้องจำนวน 2 พื้นที่ ประกอบด้วย 1. ทีมงานสำนักงานสาธารณสุขอำเภอทุ่งตะโก ประกอบด้วย นายวัชรินทร์ แจ้งใจเย็น สาธารณสุขอำเภอ นายมานิตย์ ประดับการ ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอ และเจ้าหน้าที่ในสำนักงานฯ ผลการสอบถามพบว่าทีมงานของสาธารณสุขอำเภอไม่ได้ทราบแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน เพียงแต่เคยเข้าร่วมประชุม 1 ครั้ง ในเวที พชอ.อำเภอทุ่งตะโก (นายอำเภอทุ่งตะโกเป็นประธาน) แต่ได้มีการประสานพื้นที่พชต.ให้รับทราบเท่านั้น 2. เจ้าหน้าที่รพ.สต.ได้ให้ข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุทางถนนทุกวัน และมีการเสียชีวิตเฉลี่ย เดือนละ 1 คน (ข้อมูลรพ.สต.และตำรวจ) พบว่ามีสาเหตุมาจากผู้ขับขี่ไม่คุ้นชินกับเส้นทาง(ผู้ขับรถสายยาวถนนเพชรเกษมทั้งขาขึ้นและขาล่อง) ถนนโค้งมาก และถนนสายรออยู่ต่ำกว่าถนนสายหลักมากทำให้รถสายรองต้องพุ่งตัวมาก รถสายยาวชะลอไม่ทันเลยเกิดการชนกันขึ้น และอีกส่วนหนึ่งผู้ขับขี่มีการขับขี่ย้อนศร และบางรายไม่สวมหมวกกันน๊อค เป็นต้น 3. ผู้ป่วยและญาติที่มารับบริการที่รพ.สต.ให้ข้อมูลว่าต้องมีการบังคับใช้กฏหมายที่ชัดเจน รณรงค์สร้างความตระหนักให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง และจัดทำลูกลอนสีแดงบนถนนเหมือนจังหวัดอื่น ๆ เช่นจังหวัดภูเก็ต เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับทราบข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุและการใช้บริการดูแลรักษาเบื้องต้นที่รพ.สต.และประชาชนบางส่วน มีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองโดยการใช้อุปกรณ์ความปลอดภัย

 

5 0

5. นำเสนอผลการประเมินจากการเรียนรู้

วันที่ 1 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นำเสนอผลการประเมินโครงการการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน ด้วยเครื่องมือ HIA และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับทีมประเมินเครือข่ายทีมประเมินโครงการภาคใต้ทั้งหมด พื้นที่จังหวัดกระบี่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง และสงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เรียนรู้วิธีการประเมินด้วยเครื่องมื HIA ,CIPP ,และกฎบัตร Ottawa เป็นต้น

 

1 0

6. ประชุมคณะกรรมการพัฒนาพชอ.

วันที่ 7 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการพัฒนาพชอ.ในการจัดทำแผน ร่วมกับคณะกรรมการพชอ.และพชต.ในอำเภอทุ่งตะโก จำนวน 50 คน ประกอบด้วย นายวัชรินทร์  แจ้งใจเย็น สาธารณสุขอำเภอทุ่งตะโก
นายมานิตย์  ประดับการ ผช. สาธารณสุขอำเภอทุ่งตะโก ครูผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน 4 แห่ง อสม. สอบต. และพชต.แต่ละตำบล
กิจกรรม 1. ประธานเปิดการประชุม กล่าวถึง ประเด็นพัฒนาของอำเภอทุ่งตะโก ในนามคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.) เลือกประเด็นการพัฒนาในปีนี้ 2 เรื่องคือ ประเด็นผู้สูงอายุ และอุบัติเหตุ และให้สอดคล้องกับแผนการพัฒนารูปแบบทุ่งตะโกโมเดล ที่ใช้แนวคิด คนชู คนชง คนเชียร์ คนช่วยและคนชิม 2. ระดมสมองเพื่อการวางแผนการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุ ประกอบด้วย ตำบลปากตะโก  ตะโก  ช่องไม้แก้ว และทุ่งตะไคร เกิดแผนการดำเนินงาน 2.1 การรณรงค์ โดยทีมงานผู้รับผิดชอบอุบัติเหตุแต่ละตำบลร่วมกับโรงเรียน ให้งบประมาณ 5,000บาท จำนวน 4 โรงเรียน 2.2 นำเสนอแนวคิดและผลการประชุมกลุ่มในแต่ละโซนต่อคณะกรรมการ พชอ.ทุ่งตะโก 2.3 สาธารณสุขอำเภอในฐานะผู้รับผิดงานสุขภาพจะร่วมกับผู้รับผิดชอบโครงการนำเสนอผลการประชุมครั้งนี้สู่คณะกรรมการระดับจังหวัดต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับทีมพชต.และพชอ.อำเภอทุ่งตะโก และแผนการสร้างความตระหนักของชุมชนโดยใช้นักเรียนและทีมงานอสม.เป็นผู้ร่วมดำเนินการ ทั้ง 4 ตำบล

 

50 0

7. ติดตามประเมินผลโครงการในพื้นที่อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ครั้งที่ 3

วันที่ 24 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ผู้ประเมินร่วมกันสรุปผลการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน ประกอบด้วย กิจกรรม 1. ปรับปรุงกรอบแนวคิดการประเมินให้สอดคล้องโครงการ และการเรียนจากเวทีการนำเสนอผลงานครั้งที่ 1วันที่ 29 ก.พ. 62 2. สรุปผลการดำเนินงานของโครงการ และบันทึกกิจกรรมลงในโปรแกรมการติดตามซึ่งมีผลสรุปดังนี้ 2.1 ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ติดตามในพื้นที่ 8 ครั้งแต่ผลการดำเนินงานแต่ละครั้งไม่มีการเชื่อมประสานและขาดการระบุเนื้อหาที่ชัดเจน 2.2 มีการบรรจุแผนงาน/โครงการการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน ในกองทุนสุขภาพตำบล ครบทุกตำบล (4 ตำบล)
2.3 มีคณะกรรมการพชอ.จำนวน 21 คน และได้กำหนดประเด็นการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชนเป็นโครงการหนึ่งของพชอ. ที่จะร่วมกันขับเคลื่อน ในระดับอำเภออย่างเป็นรูปธรรม และเกิดผลลัพธ์ที่ชัดเจน 3. ข้อเสนอแนะ 3.1 ควรขับเคลื่อนประเด็นการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน ในระดับจังหวัด และควรกำหนดเป็นนโยบายสาธารณะ โดยขับเคลื่อนผ่านสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร 4. ข้อสังเกตจากการประเมินโครงการ 4.1 ภาพกิจกรรมไม่สอดคล้องกับกิจกรรมดำเนินงาน 4.2 การบันทึกกิจกรรม ไม่สอดคล้องกับ วัน เดือน ปี ที่จัดกิจกรรม เช่น
- การติดตามครั้งที่ 6 วันที่ 4 ก.ค.61 - การติดตามครั้งที่ 7 วันที่ 6 มิ.ย.61 4.3 การบันทึกกิจกรรม ไม่ครอบคลุมผลลัพธ์ของการดำเนินงานที่ชัดเจน 4.4 ไม่ปรากฏฐานข้อมูลการรวบรวมสถิติอุบัติเหตุ ที่ชัดเจน 4.5 ชุดจัดการความรู้ยังไม่ปรากฏ 4.6 การสรุปผลลัพธ์การดำเนินงานไม่ชัดเจน โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน ในการสวมหมวกกันน๊อค และคาดเข็มขัดนิรภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผลสรุปการประเมินโครงการการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อ.ทุ่งตะโก จ.ชุมพร ที่จะต้องนำผลไปสู่นโยบายสาธารณะระดับจังหวัดต่อไป

 

2 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อประเมินผลการดำเนินงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1.คณะกรรมการ 10 คน เข้าใจในบทบาทหน้าที่และภารกิจที่ได้รับมอบหมาย 2.ชุมชนสามารถเข้าถึงแผนใช้งบประมาณของกองทุนสุขภาพตำบล 3.คนในชุมชนสามารถเขียนแผนและปฏิบัติตามแผน 4.แผนงานในกองทุนสุขภาพตำบลสามารถแก้ปัญหาของชุมชน 5.รูปแบบการจัดการอุบัติเหตุในชุมชน 6.ชุดความรู้การจัดการอุบัติเหตุของชุมชนอย่างยั่งยืน 7.ฐานข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการอุบัติเหตุในชุมชน 8.การจัดการอุบัติเหตุเป็นนโยบายระดับอำเภอ 9.ประชาชนเกิดการรับรู้และตระหนักต่อการจัดการแก้ปัญหา 10.จำนวนครั้งของการเกิดอุบัติเหตุลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 117814
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) 0
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน 0
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -
คณะกรรมการโครงการ 10
ผู้ที่สัญจรผ่าน 100,000
ผู้มีส่วนได้เสีย 17,804

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อประเมินผลการดำเนินงานของโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ติดตามประเมินผลโครงการในพื้นที่อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร (3) ประชุมร่วมกับผู้รับผิดชอบโครงการ (4) นำเสนอผลการประเมินในพื้นที่จริง (5) ติดตามประเมินผลโครงการในพื้นที่อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ครั้งที่ 3 (6) ติดตามประเมินผลโครงการในพื้นที่อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร ครั้งที่2 (7) ประชุมคณะกรรมการพัฒนาพชอ.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประเมินผล การจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร จังหวัด ชุมพร

รหัสโครงการ 61-ข-008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( คุณสมใจ ด้วงพิบูลย์ และ คุณอุไรวรรณ ตันฑอาริยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด