ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการประเมินผล ยุทธศาสตร์อาหารสงขลา ปี 61-62 / ความมั่นคงทางอาหาร

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการประเมินผล ยุทธศาสตร์อาหารสงขลา ปี 61-62 / ความมั่นคงทางอาหาร ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล ยุทธศาสตร์อาหารสงขลา ปี 61-62 / ความมั่นคงทางอาหาร

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินผล ยุทธศาสตร์อาหารสงขลา ปี 61-62 / ความมั่นคงทางอาหาร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผล ยุทธศาสตร์อาหารสงขลา ปี 61-62 / ความมั่นคงทางอาหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินผล ยุทธศาสตร์อาหารสงขลา ปี 61-62 / ความมั่นคงทางอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เข้าพบผู้นำชุมชนเพื่อแนะนำคณะผู้ประเมินและวัตถุประสงค์การประเมิน
  2. นำเครื่องมือไปชี้แจงรายละเอียดเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล
  3. ตรวจสอบเครื่องมือแบบสอบถามและเตรียมเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูล
  4. อธิบายเครื่องมือกับคณะทำงานเพื่อลงเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม
  5. จัดเวทีการคืนข้อมูล
  6. นำเสนอความก้าวหน้าโครงการติดตามประเมิน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชนทราบสถานะของตนเองหลังดำเนินโครงการด้านแผนงาร/ยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร
  2. ข้อเสนอแนะ เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ ปีที่จะดำเนินการ กิจกรรมและโครงการที่จะดำเนินการในปี 2562 2563 และระยะยาว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เข้าพบผู้นำชุมชนเพื่อแนะนำคณะผู้ประเมินและวัตถุประสงค์การประเมิน

วันที่ 7 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.นัดนายกองค์การบริหารส่วนตำบลควนรูและคณะ เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์การประเมิน 2. กำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและระบุรายชื่อ 3. กำหนดวันจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ 4. สัมภาษณ์ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. รายชื่อกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
  2. กำหนดวันจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
  3. ลการดำเนินงานที่ผ่านมา

 

10 0

2. อธิบายเครื่องมือกับคณะทำงานเพื่อลงเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม

วันที่ 19 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องแนวคิดการประเมินแบบเสริมพลัง (Empowerment Evaluation)
  2. พัฒนาตัวชี้วัดที่ใช้ในการติดตามประเมิน ฯ
  3. จัดตั้งคณะทำงานเพื่อประเมินติดตาม ฯ
  4. ระดมความคิดด้านประเด็นปัญหา อุปสรรคจากการดำเนินงานที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ความรู้ก่อนอบรมและหลังอบรม
  2. ตัวชี้วัดที่ใช้ในการติดตามประเมิน ฯ
  3. คณะทำงานติดตามประเมิน ฯ
  4. ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค

 

10 0

3. ตรวจสอบเครื่องมือแบบสอบถามและเตรียมเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูล

วันที่ 26 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

นำแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิไปเข้าเวทีการประชุมคณะทำงานประเมินติดตามของชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบโดยชุมชน

 

20 0

4. นำเครื่องมือไปชี้แจงรายละเอียดเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล

วันที่ 15 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. อธิบายการจัดเก็บแบบสอบถาม รายละเอียดแบบสอบถามให้กับผู้รวบรวมแบบสอบถาม
  2. หลักเกณฑ์การเก็บข้อมูล จำนวน 314 ชุด แยกเป็นหมู่บ้าน โดยขนาดตัวอย่างแบ่งตามสัดส่วน
  3. หลักเกณฑ์การสุ่มครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ความรู้ ความเข้าใจในแบบสอบถาม
  2. การเก็บข้อมูลและหลักการสุ่มเก็บตัวอย่าง

 

15 0

5. จัดเวทีการคืนข้อมูล

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. นำเสนอผลการเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัด
  2. ระดมความคิดเห็นจากสถานะข้อมูลตามตัวชี้วัด และตั้งประเด็นข้อสังเกตข้อมูล
  3. เลือกตัวชี้วัดที่สนใจสำคัญเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาและข้อเสนอแนะทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการพัฒนาและข้อเสนอแนะทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

 

15 0

6. นำเสนอความก้าวหน้าโครงการติดตามประเมิน

วันที่ 1 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นำเสนอความก้าวหน้าผลการประเมินติดตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานความก้าวหน้าและการนำข้อมูลเข้าระบบ

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เข้าพบผู้นำชุมชนเพื่อแนะนำคณะผู้ประเมินและวัตถุประสงค์การประเมิน (2) นำเครื่องมือไปชี้แจงรายละเอียดเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล (3) ตรวจสอบเครื่องมือแบบสอบถามและเตรียมเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูล (4) อธิบายเครื่องมือกับคณะทำงานเพื่อลงเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม (5) จัดเวทีการคืนข้อมูล (6) นำเสนอความก้าวหน้าโครงการติดตามประเมิน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประเมินผล ยุทธศาสตร์อาหารสงขลา ปี 61-62 / ความมั่นคงทางอาหาร จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด