ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี
ภายใต้โครงการ แผนงานติดตามและประเมินผลโครงการ ภาคใต้ ปี62
รหัสโครงการ ข้อตกลงป
วันที่อนุมัติ 1 พฤศจิกายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ผู้รับผิดชอบโครงการ ผศ.ณชพงศ จันจุฬา, ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ, ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อ.หนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.8030881811644,101.1514008081place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ย. 2561 31 ม.ค. 2562 1 พ.ย. 2561 31 ม.ค. 2562 15,000.00
2 1 ก.พ. 2562 28 ก.พ. 2562 1 ก.พ. 2562 28 ก.พ. 2562 5,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
บุหรี่ , สารเสพติด
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การประเมินครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด โดยประยุกต์กรอบแนวคิดการประเมิน “CIPP Model” ของ สตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) โดยมุ่งประเมิน 4 ส่วน โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ เพื่อประเมินโครงการโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ตามกรอบการประเมินต่อไปนี้ 1) เพื่อประเมินบริบทการดำเนินงานภายใต้การพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น 2) เพื่อประเมินโครงการที่เกิดจากการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล 3) เพื่อประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบของกลุ่มกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในการทำโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดภายหลังจากการเข้าร่วมโครงการ ซึ่งรายละเอียดของวิธีการดำเนินการประเมิน ดังต่อไปนี้

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,500.00 6 24,814.00
3 ธ.ค. 61 ประชุมกำหนดแนวทางการดำเนินการประเมินโครงการปัจจจัยเสี่ยง 0 500.00 1,000.00
20 ธ.ค. 61 ลงพื้นที่สัมภาษณ์และเตรียมความพร้อมการประชุมตัวแทนกองทุน สปสช.ทั้ง 13 กองทุนในเขตอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี 0 4,000.00 4,400.00
20 ธ.ค. 61 ทบทวนความเข้าใจ เพื่อเตรียมกำหนดกรอบการประเมินผลโครงการปัจจัยเสี่ยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี 0 4,000.00 5,175.00
3 ม.ค. 62 การร่วมสนทนากลุ่มกับทีมงานประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด 0 5,000.00 7,239.00
12 ม.ค. 62 ประชุมสรุปการติดตามประเมินผลโครงการปัจจัยเสี่ยงฯ หนองจิก ปัตตานี 0 2,000.00 2,000.00
4 ก.พ. 62 จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ 0 5,000.00 5,000.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 พ.ย. 2561 12:21 น.