ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี

ชุมชน อ.หนองจิก จังหวัดปัตตานี

รหัสโครงการ ข้อตกลงป เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2018 ถึง 31 มีนาคม 2019

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤศจิกายน 2018 ถึงเดือน มกราคม 2019

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ทบทวนความเข้าใจ เพื่อเตรียมกำหนดกรอบการประเมินผลโครงการปัจจัยเสี่ยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วันที่ 20 ธันวาคม 2018 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ทางคณะผู้ประเมินได้รับทราบสถานการณ์โครงการปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ซึ่งหมายถึงกิจกรรมที่ทางสจรส.ได้จัดกิจกรรมอบรมและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพในพื้นที่ตำบลหนองจิก เพื่อให้สามารถเขียนโครงการของบประมาณดำเนินกิจกรรมเพื่อลดการติดสุรา ยาสูบ และยาเสพติด และการดำเนินงานประเด็นปัจจัยเสี่ยงภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลว่ามหน่ายงานใดเกี่ยวข้องบ้าง ใครเป็นผู้ประสานงานหลัก

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. นัดหมายทีมงานสจรส.เพื่อสนทนาเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ และทบทวนความเข้าใจรายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย เพื่อนำมากำหนดกรอบการดำเนินงาน
  2. เดินทางจากม.อ.ปัตตานีไปยัง สจรส. เพื่อเข้าสัมภาษณ์ทีมงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
  3. สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการ ดร.ซอฟียะห์ นิมะ
  4. สัมภาษณ์ผู้ประสานงานโครงการ นางสาวสิริมนต์ ชีวะอิสระกุล
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

2 0

2. ลงพื้นที่สัมภาษณ์และเตรียมความพร้อมการประชุมตัวแทนกองทุน สปสช.ทั้ง 13 กองทุนในเขตอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วันที่ 22 ธันวาคม 2018 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้กลุ่มเป้าหมาย 13 กองทุน ที่ดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบล ในการร่วมทำการสนทนากลุ่ม (Focus Group) โดยผอ.ได้ชี้แจงรายละเอียดโครงสร้างของกลุ่มเป้าหมาย โครงการที่ได้เสนอมาภายหลังการอบรม และปัญหาอุปสรรคอย่างคร่าวๆ เพื่อให้ผู้ประเมินสามารถนำไปกำหนดกรอบการเก็บข้อมูลในครั้งถัดไป รับทราบข้อมูลเบื้องต้นในการดำเนินงานเกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับกองทุน ในประเด็นปัจจัยเสี่ยงฯ ซึ่งมี 13 กองทุนในตำบลหนองจิก ส่วนใหญ่โครงการที่กองทุนขอมานั้นจะเน้นเรื่องของการลดบุหรี่ มากที่สุด รองลงมาคือยาเสพติด และสุรา เนื่องจากพื้นที่หนองจิกมีประชากรที่นับถือศาสนาอิสลามจึงไม่ค่อยมีผู้ติดสุรามากนัก ภายหลังจากการสัมภาษณ์ คณะประเมินจึงได้นำข้อมูลมากำหนดเป็นแบบสอบถามและแบบสนทนากลุ่ม เพื่อเก็บข้อมูล โดยได้นัดหมายกับตัวแทนทั้ง 13 กองทุน ผ่านผ.อ.กองสธารณสุขทต.หนองจิกเป็นผู้ประสานงานและอำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

สัมภาษณ์ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งเเวดล้อมเทศบาลตำบลหนองจิง ถึงขั้นตอนรายละเอียดการดำเนินงานเกี่ยวกับกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบล เพื่อเตรียมความพร้อมของพื้นที่ 13 กองทุน ในเขตเทศบาลตำบลหนองจิก เพื่อเข้าร่วมประชุมสนทนากลุ่มในการประเมินขั้นตอนการทำงาน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

2 0

3. การร่วมสนทนากลุ่มกับทีมงานประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด

วันที่ 3 มกราคม 2019 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

รับทราบข้อมูลกลไกการดำเนินงาน .....ในการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ นั้น ทางตัวแทนกองทุนได้บอกเล่าเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินงานของตนเองว่าเป็นอย่างไร ส่วนใหญ่จะเข้าใจในบทบาทของตนเองมากขึ้น รวมถึงได้แนวทางการดำเนินงานในการอนุมัติงบปะมาณแก่ชุมชน และเป็นที่ปรึกษาในการทำโครงกาทางด้านสุขภาพได้ดีมากขึ้น ในขณะที่การบันทึกข้อมูลนั้นช่วยให้เจ้าหน้าที่รายงานกิจกรรมได้ง่ายขึ้น แต่ก็ต้องอาศัยระยะเวลาในการทำความเข้าใจระบบการบันทึกข้อมูลมาก ...... ในการสนทนากลุ่มนั้น ผู้ให้ข้อมูลยังตอบคำถามการประเมินได้ไม่ตรงประเด็นมากนัก เนื่องจากโครงการเพิ่งจะดำเนินการ และอยู่ในช่วงที่กำลังปรับระบบการดำเนินงาน จึงสะท้อนเกี่ยวกับความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมกับทางสจรส.มากกว่าการสะท้อนผลการดำเนินงานของตนเอง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

สนทนากลุ่มกับทีมงานประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 6 3                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 20,000.00 16,814.00                  
คุณภาพกิจกรรม 12 0                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
ผศ.ณชพงศ จันจุฬา, ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ, ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก
ผู้รับผิดชอบโครงการ