ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ”

ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ละอองพันธุ์ นายสมนึก นุ่นด้วง

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2020 ถึง 1 มิถุนายน 2020


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยประเมินผล (Evaluation Research) ด้วยกระบวนการประเมินผลเพื่อเสริมพลังอำนาจ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสมรรถนะการจัดการผ่านกลไกระบบพี่เลี้ยงและเพื่อประเมินผลการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 จังหวัดพัทลุง การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ใช้กรอบแนวคิดการประเมินผลทางสุขภาพ (Health Impact Assessment) และกฎบัตรออตตาวา (Ottawa Charter) เป็นกรอบแนวคิดหลักในการศึกษา โดยผู้ศึกษาได้เก็บข้อมูลกับทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอควนขนุน คณะกรรมการกองทุนสุขภาพพื้นที่ในอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จำนวน 10 ตำบล การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ใช้การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) ร่วมกับการสนทนา (Dialogue) การสังเกตแบบมีส่วนร่วม การอภิปรายกลุ่ม (Focus Group Discussion) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ศึกษาใช้กฎสามเส้า (Triangulation) เพื่อทดสอบความเชื่อมั่นของข้อมูลและใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการศึกษาพบว่าพี่เลี้ยงระดับจังหวัดมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยกำหนดสุขภาพและการบริหารจัดการกองทุนเป็นอย่างดี แต่ยังมีปัญหาในการบริหารจัดการโครงการและรวมถึงการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้และเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมกับคณะกรรมการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ แต่อย่างไรก็ตามคณะกรรมการกองทุนสุขภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการของคณะกรรมการกองทุนสุขภาพที่เข้มแข็งและมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาให้เกิดผลสำเร็จและเกิดประโยชน์แก่ชุมชน ดังนั้นการจัดการผ่านกลไกระบบพี่เลี้ยงยังคงต้องปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากการศึกษาครั้งนี้ควรพัฒนาระบบการสื่อสารและช่องทางการสื่อสารระหว่างทีมพี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่อย่างจริงจังและต่อเนื่อง อีกทั้งควรมีการพัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รับผิดชอบโครงการในการรายงานผลผ่านระบบเว็บไซต์ ควรสร้างความเข้าใจและตระหนักแก่คณะกรรมการกองทุนสุขภาพในการทำโครงการที่มุ่งเน้นปัจจัยกำหนดสุขภาพหลัก 5 เรื่องได้แก่ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด อาหาร และกิจกรรมทางกาย ทั้งนี้มุมมองของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเสนอแนะให้เปิดโอกาสกับโครงการที่สอดรับกับปัญหาสุขภาพและคุณภาพชีวิต รวมทั้งความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุนสุขภาพ
  2. เพื่อเพิ่มคุณภาพโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอควนขนุน
  3. เพื่อเพิ่มการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล
  4. เพื่อให้มีการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญใน พชอ.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การสร้างทีมและพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงระดับพื้นที่
  2. การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรพัฒนาทีมพี่เลี้ยง
  3. พี่เลี้ยงพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน เรื่องการทำแผนสุขภาพและระบบติดตามประเมินผล
  4. ทีมประสานงานเขตประชุมร่วมเพื่อทำความเข้าใจกับ พชอ.
  5. พี่เลี้ยงลงสนับสนุนและทบทวนการทำแผน และการพัฒนาโครงการ
  6. การประเมินผลและติดตามโครงการกองทุนนำร่อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
คณะกรรมการ พชอ. 20
คณะกรรมการกองทุน 100
หน่วยงานรับทุน องค์กรรับทุน 50
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนนำร่อง 15

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กองทุนสุขภาพตำบลมีแผนสุขภาพใน 5 ประเด็นหลักและตามปัญหาพื้นที่
2.พชอ.เกิดการบูรณาการแผนใน 5 ประเด็นหลัก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุนสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกองทุนสุขภาพตำบลอำเภอควนขนุนที่มีแผนสุขภาพตำบลตามประเด็นปัญหาของพื้นที่
20.00 80.00

 

2 เพื่อเพิ่มคุณภาพโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอควนขนุน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอควนขนุน
20.00 0.00

 

3 เพื่อเพิ่มการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกองทุนที่มีการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล
10.00 80.00

 

4 เพื่อให้มีการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญใน พชอ.
ตัวชี้วัด : พชอ.ควนขนุน มีการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญ
0.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 185
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) 0
วัยเรียน (6-12 ปี) 0
วัยรุ่น (13-15 ปี) 0
เยาวชน (15-20 ปี) 0
วัยทำงาน 0
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ 0
ผู้หญิง 0
มุสลิม 0
พระภิกษุ 0
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -
คณะกรรมการ พชอ. 20
คณะกรรมการกองทุน 100
หน่วยงานรับทุน องค์กรรับทุน 50
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนนำร่อง 15

บทคัดย่อ*

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยประเมินผล (Evaluation Research) ด้วยกระบวนการประเมินผลเพื่อเสริมพลังอำนาจ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสมรรถนะการจัดการผ่านกลไกระบบพี่เลี้ยงและเพื่อประเมินผลการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 จังหวัดพัทลุง การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ใช้กรอบแนวคิดการประเมินผลทางสุขภาพ (Health Impact Assessment) และกฎบัตรออตตาวา (Ottawa Charter) เป็นกรอบแนวคิดหลักในการศึกษา โดยผู้ศึกษาได้เก็บข้อมูลกับทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอควนขนุน คณะกรรมการกองทุนสุขภาพพื้นที่ในอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จำนวน 10 ตำบล การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ใช้การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) ร่วมกับการสนทนา (Dialogue) การสังเกตแบบมีส่วนร่วม การอภิปรายกลุ่ม (Focus Group Discussion) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ศึกษาใช้กฎสามเส้า (Triangulation) เพื่อทดสอบความเชื่อมั่นของข้อมูลและใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการศึกษาพบว่าพี่เลี้ยงระดับจังหวัดมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยกำหนดสุขภาพและการบริหารจัดการกองทุนเป็นอย่างดี แต่ยังมีปัญหาในการบริหารจัดการโครงการและรวมถึงการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้และเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมกับคณะกรรมการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ แต่อย่างไรก็ตามคณะกรรมการกองทุนสุขภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการของคณะกรรมการกองทุนสุขภาพที่เข้มแข็งและมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาให้เกิดผลสำเร็จและเกิดประโยชน์แก่ชุมชน ดังนั้นการจัดการผ่านกลไกระบบพี่เลี้ยงยังคงต้องปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากการศึกษาครั้งนี้ควรพัฒนาระบบการสื่อสารและช่องทางการสื่อสารระหว่างทีมพี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่อย่างจริงจังและต่อเนื่อง อีกทั้งควรมีการพัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รับผิดชอบโครงการในการรายงานผลผ่านระบบเว็บไซต์ ควรสร้างความเข้าใจและตระหนักแก่คณะกรรมการกองทุนสุขภาพในการทำโครงการที่มุ่งเน้นปัจจัยกำหนดสุขภาพหลัก 5 เรื่องได้แก่ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด อาหาร และกิจกรรมทางกาย ทั้งนี้มุมมองของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเสนอแนะให้เปิดโอกาสกับโครงการที่สอดรับกับปัญหาสุขภาพและคุณภาพชีวิต รวมทั้งความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยประเมินผล (Evaluation Research) ด้วยกระบวนการประเมินผลเพื่อเสริมพลังอำนาจมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสมรรถนะการจัดการผ่านกลไกระบบพี่เลี้ยงและเพื่อประเมินผลการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 จังหวัดพัทลุง การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ใช้กรอบแนวคิดการประเมินผลทางสุขภาพ (Health Impact Assessment) และกฎบัตรออตตาวา (Ottawa Charter) เป็นกรอบแนวคิดหลักในการศึกษา โดยผู้ศึกษาได้เก็บข้อมูลกับทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและระดับจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอควนขนุน คณะกรรมการกองทุนสุขภาพพื้นที่ในอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จำนวน 10 ตำบล พบว่าพี่เลี้ยงระดับจังหวัดมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับระบบสุขภาพและการบริหารจัดการกองทุนเป็นอย่างดี แต่ควรเพิ่มศักยภาพในการสื่อสารและติดต่อประสานเพื่อสร้างการรับรู้และเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมกับคณะกรรมการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ ส่วนคณะกรรมการกองทุนสุขภาพพื้นที่ส่วนใหญ่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการของคณะกรรมการกองทุนสุขภาพที่เข้มแข็งและมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาให้เกิดผลสำเร็จ ควรมีการพัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รับผิดชอบโครงการในการรายงานผลผ่านระบบเว็บไซต์ รวมทั้งสร้างความเข้าใจและความตระหนักแก่คณะกรรมการกองทุนสุขภาพในการทำโครงการที่มุ่งเน้นปัจจัยกำหนดสุขภาพหลัก 5 เรื่องได้แก่ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด อาหาร และกิจกรรมทางกาย ซึ่งในมุมมองของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเสนอแนะให้เปิดโอกาสกับโครงการที่สอดรับกับปัญหาสุขภาพและคุณภาพชีวิต รวมทั้งความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง โดยประเด็นปัญหาทั้งหมดนำไปสู่การขับเคลื่อนแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

ข้อเสนอแนะและการนำผลการศึกษาไปใช้ประโยชน์

ผลการประเมินในครั้งนี้ได้นำมาสู่ข้อเสนอแนะ 2 ส่วน ได้แก่ ข้อเสนอแนะในการนำผลการประเมินไปใช้ และ

ข้อเสนอแนะในการประเมินครั้งต่อไป ดังนี้

1.ข้อเสนอแนะในการนำผลการประเมินไปใช้
1.1 กลไกการเพิ่มศักยภาพของพี่เลี้ยงระดับจังหวัดให้ดำเนินการแบบ coaching และการติดต่อประสานงาน
1.2 การเพิ่มศักยภาพของกลุ่มภาคีเครือข่ายในการเขียนโครงการและการใช้ website
1.3 พัฒนากระบวนการการเก็บข้อมูลพื้นฐาน(Baseline) ของชุมชนและครัวเรือน

2.ข้อเสนอแนะในการประเมินครั้งต่อไป
2.1การศึกษาข้อมูลพื้นฐานของในแต่ละตำบลเพิ่มเติม

 

 


โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมชาย ละอองพันธุ์ นายสมนึก นุ่นด้วง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด