ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก เขต 2

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก เขต 2 ”

อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก

หัวหน้าโครงการ
ดร.สุรศักดิ์ บุญเทียน

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก เขต 2

ที่อยู่ อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก จังหวัด พิษณุโลก

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กุมภาพันธ์ 2020 ถึง 30 กันยายน 2020


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก เขต 2



บทคัดย่อ

ทีมประเมินเขต 2 ได้เลือกพื้นที่ อำเภอเนินมะปรางเป็นพื้นที่ในการประเมินตามกรอบออตตาวาชาเตอร์ โดยการออกแบบ HIA ให้เข้าใจง่าย เข้าถึงบริบทและนำไปใช้ได้จริง บูรณาการร่วมกับการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงโครงการบูรณาการ เพื่อสร้างความตระหนักในคุณค่าของกระบวนการมีส่วนร่วม การใช้ข้อมูลในการทำแผนงานโครงการและประเมินผล การออกแบบกระบวนการประเมินครั้งนี้ให้ความสำคัญกับการ “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” ด้วยท่าทีกัลยาณมิตร ทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันทั้งทีมประเมินและทีมพื้นที่ซึ่งได้เข้าใจกลไกสุขภาพระดับพื้นที่และการประเมินเสริมพลังโดยนำ HIA มาประยุกต์ใช้ โดยใช้เครื่องมือที่ยืดหยุ่นตามบริบทและสถาณการณ์ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์เชิงลึก การใช้กระบวนกลุ่มการแบบสุนทรียสนทนา การใช้บัตรคำออนไลน์ พบว่าทุกพื้นที่ได้รับผลกระทบการระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้การขับเคลื่อนของแผนงานโครงการล่าช้า มีผลต่อการกรอกข้อมูลเข้าสู่ระบบไม่ครบถ้วน หลังมาตรการผ่อนคลายทีมประเมินจึงได้บูรณาการกำหนดการลงพื้นที่ร่วมกันกับ สสจ. และองค์กรภาคีเครือข่ายเพื่อลงพื้นที่ ดำเนินการขั้นตอนกลั่นกรองโครงการและการกำหนดขอบเขตการประเมินร่วมกัน ร่วมพัฒนากิจกรรมตามแผนงานโครงการบูรณาการที่ยังอยู่ระหว่างดำเนินการ กระบวนการประเมินเป็นรูปแบบการสนทนากลุ่มย่อย และขอข้อมูลรายบุคคลนำมาวิเคราะห์ ร่างผลการประเมินตามข้อมูลที่ปรากฎและได้ลงพื้นที่เพื่อคืนข้อมูล ทบทวนร่างรายงานการประเมินร่วมกัน รวมถึงแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับปัญหา ข้อจำกัด แนวทางการพัฒนา จากการลงพื้นที่ครั้งนี้พบว่าการขึ้นรูปแผนโดยอิงจากฐานข้อมูลด้านสุขภาพเป็นหลัก ส่งผลให้ผู้รับผิดชอบในแต่ละประเด็นยังไม่ความครอบคลุมตามวัตถุประสงค์ของ พชอ. พบว่าการมีกลไก พชอ.ช่วยให้เกิดการบูรณาการระดับพื้นที่มีความตื่นตัวในการมีส่วนร่วมทั้งกลไกระดับหัวหน้าส่วนราชการ ระดับปฏิบัติการและจิตอาสาในพื้นที่ มีผลงานเชิงตัวชี้วัดชัดเจนขึ้นในประเด็นร่วมนั้น ๆ แนวทางการพัฒนาคือขยายและยกระดับประเด็นบนฐานข้อมูลสถานการณ์ของพื้นที่ กระจายผู้รับผิดชอบหลักให้ครอบคลุมคุณภาพชีวิตประชาชนมากขึ้น จากการคืนข้อมูลพบว่าบางกองทุนสามารถใช้เงินได้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ ลดจำนวนเงินค้างท่อสะสมได้ดีโดยมีปัจจัยสำคัญจากการบูรณาการภายในด้านระเบียบกองทุนกับระเบียบของท้องถิ่น ทั้งยังได้รับผลกระทบเชิงบวกจากการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงจากภาคีระดับเขต ข้อหารือด้านการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสถานการณ์เชิงพื้นที่และเชิงประเด็นให้มีการพัฒนายกระดับเป็นระบบฐานข้อมูลกลางของพื้นที่เสนอให้มีนโยบายกลไกระบบฐานข้อมูลจากส่วนกลางช่วยเชื่อมโยงข้อมูลและประมวลผลให้เป็นภาพรวมทั้งระดับพื้นที่และระดับกระทรวง ทั้งนี้การพัฒนากลไกสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดความเข้มแข็งสอดคล้องกับบริบทและสถานการณ์ของพื้นที่ต้องได้รับการสนับสนุนในมิติองค์รวมแบบนิเวศบูรณาการทั้งในแง่การพัฒนาศักยภาพคน กลไก และนโยบายที่เอื้อต่อการทำงานได้จริงรวมถึงการประเมินที่ยกระดับสุขภาวะทางปัญญาร่วมกันของทุกภาคส่วนในสังคม

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ถ้าไม่มีตัวเลขก็เพิ่่มหลักการและเหตุผล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    ปฐมวัย (0-5 ปี)
    วัยเรียน (6-12 ปี)
    วัยรุ่น (13-15 ปี)
    เยาวชน (15-20 ปี)
    วัยทำงาน
    ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    ผู้พิการ
    ผู้หญิง
    มุสลิม
    พระภิกษุ
    ชาติพันธุ์
    ผู้ต้องขัง
    หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
    กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
    แรงงานข้ามชาติ
    อื่น ๆ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    ปฐมวัย (0-5 ปี) 0
    วัยเรียน (6-12 ปี) 0
    วัยรุ่น (13-15 ปี) -
    เยาวชน (15-20 ปี) -
    วัยทำงาน -
    ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    ผู้พิการ -
    ผู้หญิง -
    มุสลิม -
    พระภิกษุ -
    ชาติพันธุ์ -
    ผู้ต้องขัง -
    หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
    กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
    แรงงานข้ามชาติ -
    อื่น ๆ -

    บทคัดย่อ*

    ทีมประเมินเขต 2 ได้เลือกพื้นที่ อำเภอเนินมะปรางเป็นพื้นที่ในการประเมินตามกรอบออตตาวาชาเตอร์ โดยการออกแบบ HIA ให้เข้าใจง่าย เข้าถึงบริบทและนำไปใช้ได้จริง บูรณาการร่วมกับการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงโครงการบูรณาการ เพื่อสร้างความตระหนักในคุณค่าของกระบวนการมีส่วนร่วม การใช้ข้อมูลในการทำแผนงานโครงการและประเมินผล การออกแบบกระบวนการประเมินครั้งนี้ให้ความสำคัญกับการ “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” ด้วยท่าทีกัลยาณมิตร ทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันทั้งทีมประเมินและทีมพื้นที่ซึ่งได้เข้าใจกลไกสุขภาพระดับพื้นที่และการประเมินเสริมพลังโดยนำ HIA มาประยุกต์ใช้ โดยใช้เครื่องมือที่ยืดหยุ่นตามบริบทและสถาณการณ์ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์เชิงลึก การใช้กระบวนกลุ่มการแบบสุนทรียสนทนา การใช้บัตรคำออนไลน์ พบว่าทุกพื้นที่ได้รับผลกระทบการระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้การขับเคลื่อนของแผนงานโครงการล่าช้า มีผลต่อการกรอกข้อมูลเข้าสู่ระบบไม่ครบถ้วน หลังมาตรการผ่อนคลายทีมประเมินจึงได้บูรณาการกำหนดการลงพื้นที่ร่วมกันกับ สสจ. และองค์กรภาคีเครือข่ายเพื่อลงพื้นที่ ดำเนินการขั้นตอนกลั่นกรองโครงการและการกำหนดขอบเขตการประเมินร่วมกัน ร่วมพัฒนากิจกรรมตามแผนงานโครงการบูรณาการที่ยังอยู่ระหว่างดำเนินการ กระบวนการประเมินเป็นรูปแบบการสนทนากลุ่มย่อย และขอข้อมูลรายบุคคลนำมาวิเคราะห์ ร่างผลการประเมินตามข้อมูลที่ปรากฎและได้ลงพื้นที่เพื่อคืนข้อมูล ทบทวนร่างรายงานการประเมินร่วมกัน รวมถึงแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับปัญหา ข้อจำกัด แนวทางการพัฒนา จากการลงพื้นที่ครั้งนี้พบว่าการขึ้นรูปแผนโดยอิงจากฐานข้อมูลด้านสุขภาพเป็นหลัก ส่งผลให้ผู้รับผิดชอบในแต่ละประเด็นยังไม่ความครอบคลุมตามวัตถุประสงค์ของ พชอ. พบว่าการมีกลไก พชอ.ช่วยให้เกิดการบูรณาการระดับพื้นที่มีความตื่นตัวในการมีส่วนร่วมทั้งกลไกระดับหัวหน้าส่วนราชการ ระดับปฏิบัติการและจิตอาสาในพื้นที่ มีผลงานเชิงตัวชี้วัดชัดเจนขึ้นในประเด็นร่วมนั้น ๆ แนวทางการพัฒนาคือขยายและยกระดับประเด็นบนฐานข้อมูลสถานการณ์ของพื้นที่ กระจายผู้รับผิดชอบหลักให้ครอบคลุมคุณภาพชีวิตประชาชนมากขึ้น จากการคืนข้อมูลพบว่าบางกองทุนสามารถใช้เงินได้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ ลดจำนวนเงินค้างท่อสะสมได้ดีโดยมีปัจจัยสำคัญจากการบูรณาการภายในด้านระเบียบกองทุนกับระเบียบของท้องถิ่น ทั้งยังได้รับผลกระทบเชิงบวกจากการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงจากภาคีระดับเขต ข้อหารือด้านการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสถานการณ์เชิงพื้นที่และเชิงประเด็นให้มีการพัฒนายกระดับเป็นระบบฐานข้อมูลกลางของพื้นที่เสนอให้มีนโยบายกลไกระบบฐานข้อมูลจากส่วนกลางช่วยเชื่อมโยงข้อมูลและประมวลผลให้เป็นภาพรวมทั้งระดับพื้นที่และระดับกระทรวง ทั้งนี้การพัฒนากลไกสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดความเข้มแข็งสอดคล้องกับบริบทและสถานการณ์ของพื้นที่ต้องได้รับการสนับสนุนในมิติองค์รวมแบบนิเวศบูรณาการทั้งในแง่การพัฒนาศักยภาพคน กลไก และนโยบายที่เอื้อต่อการทำงานได้จริงรวมถึงการประเมินที่ยกระดับสุขภาวะทางปัญญาร่วมกันของทุกภาคส่วนในสังคม

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก เขต 2 จังหวัด พิษณุโลก

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ดร.สุรศักดิ์ บุญเทียน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด