ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ กรณีศึกษา อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ กรณีศึกษา อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ”

อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ กรณีศึกษา อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

ที่อยู่ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ จังหวัด กระบี่

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ กรณีศึกษา อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ จังหวัดกระบี่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ กรณีศึกษา อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่



บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริม สุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ กรณีศึกษา อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ประยุกต์ใช้ขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ 4 ขั้นตอน คือ 1.การกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการหรือกิจกรรม (Screening) 2.การกำหนดขอบเขต (Scoping) 3.การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ และ 4.การทบทวนร่างรายงานการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพ (Review) เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลการดำเนินการ จำนวน 15 คน ประกอบด้วยผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในอำเภอคลองท่อม ได้แก่ รพ.สต. สสอ.คลองท่อม และองค์กรปกครองส่วนท่องถิ่น ทั้งหมดมีความเต็มใจ และสมัครใจเข้าร่วมโครงการ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เป็นแนวทางการประชุมกลุ่ม และสังเกตอย่างมีส่วนร่วม ตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้กฎสามเส้า (Triangulation) และวิเคราะห์เชิงคุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) และเชิงปริมาณโดยใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ

            ผลการศึกษา พบว่า กลไกพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในระดับกลุ่มพื้นที่เพื่อการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ อำเภอคลองท่อมมีการดำเนินการการวางแผน และดำเนินการขับเคลื่อนประเด็นในการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.) ประกอบด้วย 1.อุบัติเหตุทางการจราจร 2.โรคติดต่อ (โรคไข้เลือดออก โรคโคโรน่าไวรัส 2019) 3.อาหารริมบาทวิถีปลอดภัย 4.ปัญหาขยะ แต่แผนของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตยังไม่มีการบูรณาการร่วมกับประเด็นของกองทุนในประเด็น อุบัติเหตุทางการจราจร และปัญหาขยะ ขณะที่สัดส่วนของโครงการปัจจัยเสี่ยงเหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร กิจกรรมทางกาย พบว่าทั้ง 9 กองทุนสุขภาพตำบล เรื่องอาหาร จำนวน 3 แผนงาน/โครงการ ร้อยละ 33.33 เรื่องกิจกรรมทางกาย จำนวน 2 แผนงาน/โครงการ ร้อยละ 22.22 แผนงาน/โครงการ เรื่องบุหรี่ จำนวน 2 แผนงาน/โครงการ ร้อยละ 22.22 แผนงาน/โครงการ เรื่องยาเสพติด จำนวน 1 แผนงาน/โครงการ ร้อยละ 11.11 แผนงาน/โครงการ และเรื่องการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่พบแผนงาน/โครงการ ทั้งนี้ การพัฒนาคณะทำงาน ทีมงาน พี่เลี้ยง ระดับต่าง ๆ และดำเนินงานร่วมกับ พชอ. ในอนาคต ยังไม่ชัดเจนและยังเป็นข้อจำกัดของการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่

            ดังนั้น การดำเนินการเพื่อมุ่งเน้นการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะ เป็นเรื่องที่ท้าทายของชุมชนอำเภอคลองท่อมซึ่งจะต้องความสามารถในการบริหารจัดการ การวางแผน ร่วมคิด ร่วมทำ ให้การจัดทำแผนมีความครอบคลุมสามารถแก้ปัญหาตามความต้องการของประชาชนได้อย่างเป็นองค์รวม มีกลไกบูรณาการระหว่างรัฐ ท้องถิ่น ประชาชนในระดับท้องถิ่น ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้ต่อไป

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    ปฐมวัย (0-5 ปี)
    วัยเรียน (6-12 ปี)
    วัยรุ่น (13-15 ปี)
    เยาวชน (15-20 ปี)
    วัยทำงาน
    ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    ผู้พิการ
    ผู้หญิง
    มุสลิม
    พระภิกษุ
    ชาติพันธุ์
    ผู้ต้องขัง
    หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
    กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
    แรงงานข้ามชาติ
    อื่น ๆ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    ปฐมวัย (0-5 ปี) -
    วัยเรียน (6-12 ปี) -
    วัยรุ่น (13-15 ปี) -
    เยาวชน (15-20 ปี) -
    วัยทำงาน -
    ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    ผู้พิการ -
    ผู้หญิง -
    มุสลิม -
    พระภิกษุ -
    ชาติพันธุ์ -
    ผู้ต้องขัง -
    หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
    กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
    แรงงานข้ามชาติ -
    อื่น ๆ -

    บทคัดย่อ*

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริม สุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ กรณีศึกษา อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ประยุกต์ใช้ขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ 4 ขั้นตอน คือ 1.การกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการหรือกิจกรรม (Screening) 2.การกำหนดขอบเขต (Scoping) 3.การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ และ 4.การทบทวนร่างรายงานการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพ (Review) เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลการดำเนินการ จำนวน 15 คน ประกอบด้วยผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในอำเภอคลองท่อม ได้แก่ รพ.สต. สสอ.คลองท่อม และองค์กรปกครองส่วนท่องถิ่น ทั้งหมดมีความเต็มใจ และสมัครใจเข้าร่วมโครงการ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เป็นแนวทางการประชุมกลุ่ม และสังเกตอย่างมีส่วนร่วม ตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้กฎสามเส้า (Triangulation) และวิเคราะห์เชิงคุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) และเชิงปริมาณโดยใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ

                ผลการศึกษา พบว่า กลไกพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในระดับกลุ่มพื้นที่เพื่อการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ อำเภอคลองท่อมมีการดำเนินการการวางแผน และดำเนินการขับเคลื่อนประเด็นในการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.) ประกอบด้วย 1.อุบัติเหตุทางการจราจร 2.โรคติดต่อ (โรคไข้เลือดออก โรคโคโรน่าไวรัส 2019) 3.อาหารริมบาทวิถีปลอดภัย 4.ปัญหาขยะ แต่แผนของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตยังไม่มีการบูรณาการร่วมกับประเด็นของกองทุนในประเด็น อุบัติเหตุทางการจราจร และปัญหาขยะ ขณะที่สัดส่วนของโครงการปัจจัยเสี่ยงเหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร กิจกรรมทางกาย พบว่าทั้ง 9 กองทุนสุขภาพตำบล เรื่องอาหาร จำนวน 3 แผนงาน/โครงการ ร้อยละ 33.33 เรื่องกิจกรรมทางกาย จำนวน 2 แผนงาน/โครงการ ร้อยละ 22.22 แผนงาน/โครงการ เรื่องบุหรี่ จำนวน 2 แผนงาน/โครงการ ร้อยละ 22.22 แผนงาน/โครงการ เรื่องยาเสพติด จำนวน 1 แผนงาน/โครงการ ร้อยละ 11.11 แผนงาน/โครงการ และเรื่องการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่พบแผนงาน/โครงการ ทั้งนี้ การพัฒนาคณะทำงาน ทีมงาน พี่เลี้ยง ระดับต่าง ๆ และดำเนินงานร่วมกับ พชอ. ในอนาคต ยังไม่ชัดเจนและยังเป็นข้อจำกัดของการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่

                ดังนั้น การดำเนินการเพื่อมุ่งเน้นการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะ เป็นเรื่องที่ท้าทายของชุมชนอำเภอคลองท่อมซึ่งจะต้องความสามารถในการบริหารจัดการ การวางแผน ร่วมคิด ร่วมทำ ให้การจัดทำแผนมีความครอบคลุมสามารถแก้ปัญหาตามความต้องการของประชาชนได้อย่างเป็นองค์รวม มีกลไกบูรณาการระหว่างรัฐ ท้องถิ่น ประชาชนในระดับท้องถิ่น ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้ต่อไป

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

    การพัฒนาศักยภาพกลุ่มพี่เลี้ยง คณะกรรมการกองทุน ผู้ขอรับทุน มีองค์ประกอบสำคัญ ได้แก่ (1) ความรู้ ความสามารถ สมรรถนะของพี่เลี้ยง (2) หลักสูตร คู่มือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ และ (3) เว็บไซต์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ และเว็บไซต์ของสถาบันนโยบายสาธารณะ องค์ประกอบดังกล่าว เป็นส่วนสำคัญของกระบวนการ ทั้งวิธีการทำงานให้เกิดความเป็นทีมในทุกระดับ และเกิดความเข้าใจถึงผลผลิตจากการเกิดแผนงาน และโครงการ ในกองทุนให้สอดคล้องกับการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ และการกระจายงบประมาณซึ่งระบบสุขภาพระดับอำเภอเป็นยุทธศาสตร์ในการนำนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และกองทุนสุขภาพ ไปสู่ผลลัพธ์ด้านการใช้บริการและผลประโยชน์ต่อประชาชนในรูปแบบที่เอื้อประโยชน์ต่อคนจน (pro-poor) (Tangcharoensathien et al., 2018) ซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบร่วมกับของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นตัวบ่งชี้ให้เกิดการพัฒนาสถานการณ์ระบบสุขภาพชุมชนดีขึ้นไปในทิศทางเดียวกัน อย่างไรก็ดี การดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ต้องสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่และบริบท “ร่วมคิด ร่วมแก้ไข และร่วมกับผลงาน” การได้ประชุมร่วมกันของคณะกรรมการก็ยังน้อยครั้งซึ่งทำให้การได้ร่วมคิด ร่วมวางแผน ติดตามความก้าวหน้า และชี้แจงให้รับทราบถึงบทบาทหน้าที่ที่ถูกกำหนด ยังไม่ชัดเจน ดังนั้นการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของบุคคล (Role Performance) เป็นบทบาทของสถานภาพที่แสดงออกจริง (Actual Role) การที่บุคคลใดจะปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ที่ได้ดีเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับระดับของการยอมรับบทบาทนั้นๆของบุคคลที่ได้ครองตำแหน่งนั้นอยู่ ทั้งนี้เกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย ทั้งเรื่องของความเชื่อ ค่านิยม การอบรม กำลังใจ มูลเหตุจูงใจ ข้อผูกพัน ความพอใจในสิทธิหน้าที่ของจิตใจ และร่างกายของแต่ละบุคคล (นิสากร กรุงไกรเพชร และคณะ, 2559) ขณะเดียวกันการดำเนินการเพื่อมุ่งเน้นการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะ เป็นเรื่องที่ท้าทายของชุมชนอำเภอคลองท่อมซึ่งจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคประชาสังคม การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์และความเป็นผู้นำที่มีจริยธรรมช่วยจัดการกับความกดดันและข้อขัดแย้ง และช่วยปกป้องประโยชน์ของสมาชิกในสิทธิประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นอย่างดี (Tangcharoensathien et al., 2018) ทำให้การจัดทำแผนมีความครอบคลุมสามารถแก้ปัญหาตามความต้องการของประชาชนได้อย่างเป็นองค์รวมทั้งด้านสุขภาพ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน โดยกองทุนสุขภาพเป็นแหล่งสนับสนุนทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลทำให้เกิดการมีส่วนร่วมอย่างมีกฎ กติกา ประชาชนถือปฏิบัติเกิดการเรียนรู้รักสามัคคี นำความสุขสงบมาสู่คนในชุมชน เกิดกลไกการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในชุมชน และในขณะเดียวกันก็เกิดพลังขับเคลื่อนในพื้นที่ มีกลไกบูรณาการระหว่างรัฐ ท้องถิ่น ประชาชนในระดับท้องถิ่น ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้


    ข้อเสนอแนะการดำเนินการแผนงานและโครงการเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ควรจะมีการพัฒนาปัจจัยการพัฒนาใน 4 ด้าน (4 M) ได้แก่
    1. Man: ควรจัดให้มีชุดอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่บูรณาการประเด็นร่วมของการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ และพัฒนาศักยภาพ ทั้งความรู้และทักษะการจัดทำโครงการที่มีคุณภาพ และพิจารณาคัดเลือก/แต่งตั้งผู้รับผิดชอบหลักสำหรับโครงการในแต่พื้นที่ 2. Material: พัฒนาระบบสนับสนุนการเข้าถึงชุดข้อมูล เช่น ระเบียบการใช้งบประมาณ วิธีการเขียนโครงการ เป็นต้น 3. Money: ปรับระเบียบ/หลักการให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงงบประมาณได้ และมีขั้นตอนการพิจารณางบประมาณที่สามารถตรวจสอบโดยสาธารณะได้ 4. Management: ให้มีคณะกรรมการจากทุกภาคส่วน เข้าร่วมในการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

     

     


    การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ กรณีศึกษา อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ จังหวัด กระบี่

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด