ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ”

อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ละอองพันธุ์ นายเสรี เซะ นายมะกะตา เจ๊ะมะ นางนิมล หยีนิมะ นางเพียงกานต์ เด่นดารา

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ที่อยู่ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2019 ถึง 30 กันยายน 2020


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2019 - 30 กันยายน 2020 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุนสุขภาพ
  2. เพื่อเพิ่มคุณภาพโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอรือเสาะ
  3. เพื่อเพิ่มการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล
  4. เพื่อให้เกิดการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญใน พชอ.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การสร้างทีมและพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงระดับพื้นที่
  2. การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรพัฒนาทีมพี่เลี้ยง
  3. พี่เลี้ยงพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน เรื่องการทำแผนสุขภาพและระบบติดตามประเมินผล
  4. ทีมประสานงานเขตประชุมร่วมเพื่อทำความเข้าใจกับ พชอ.
  5. พี่เลี้ยงลงสนับสนุนและทบทวนการทำแผน และการพัฒนาโครงการ
  6. การประเมินผลและติดตามโครงการกองทุนนำร่อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
คณะกรรมการ พชอ. 20
คณะกรรมการกองทุน 100
หน่วยงานรับทุน องค์กรรับทุน 100
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนนำร่อง 20

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุนสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกองทุนสุขภาพตำบลอำเภอรือเสาะที่มีแผนสุขภาพตำบลตามประเด็นปัญหาของพื้นที่
10.00 80.00

 

2 เพื่อเพิ่มคุณภาพโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอรือเสาะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอ
10.00 90.00

 

3 เพื่อเพิ่มการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกองทุนที่มีการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล
5.00 50.00

 

4 เพื่อให้เกิดการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญใน พชอ.
ตัวชี้วัด : พชอ.เกิดการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญ
15.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -
คณะกรรมการ พชอ. 20
คณะกรรมการกองทุน 100
หน่วยงานรับทุน องค์กรรับทุน 100
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนนำร่อง 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุนสุขภาพ (2) เพื่อเพิ่มคุณภาพโครงการที่ดีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนำร่องในอำเภอรือเสาะ (3) เพื่อเพิ่มการใช้ระบบติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อให้เกิดการบูรณาการแผน 5 ประเด็นสำคัญใน พชอ.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การสร้างทีมและพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ (2) การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรพัฒนาทีมพี่เลี้ยง (3) พี่เลี้ยงพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน เรื่องการทำแผนสุขภาพและระบบติดตามประเมินผล (4) ทีมประสานงานเขตประชุมร่วมเพื่อทำความเข้าใจกับ พชอ. (5) พี่เลี้ยงลงสนับสนุนและทบทวนการทำแผน และการพัฒนาโครงการ (6) การประเมินผลและติดตามโครงการกองทุนนำร่อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. การเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถของคณะทำงานในโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานเสริมสร้างสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส พบว่า 1.1 พี่เลี้ยงพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจแต่ไม่มีอำนาจในการสั่งการเพื่อจัดทำแผนฯ 1.2 คณะกรรมพชอ.บางท่านและพี่เลี้ยงจังหวัดมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องแนวคิดในการสร้างเสริมสุขภาพ 1.3 พี่เลี้ยงไม่มีการเชื่องโยงและบรูณาการกระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการ พชอ.กับกองทุนหลักประกันสุขภาพในพื้นที่
  2. กลไกการดำเนินงานของคณะทำงานในโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานเสริมสร้างสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส พบว่า 2.1 คู่มือช่วยให้การทำงานของพี่เลี้ยงขับเคลื่อนได้ 2.2 การใช้ระบบออนไลน์กรอกข้อมูลบางส่วน แต่อาจจะต้องมีการติดตามเพื่อให้มีการกรอกข้อมูลที่สมบรูณ์และครบถ้วน 2.3 ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดในชุมชน 2.4 กระบวนการทำงานของคณะกรรมการของ พชอ.
    2.4.1 เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤตในพื้นที่ ก็จะเกิดการบูรณาการและเชื่อมโยงการทำงานในพื้นที่กิจกรรมที่ดำเนินงานที่เป็นนโยบายระดับอำเภอ 2.4.2 ผู้อำนวยโรงพยาบาลรือเสาะ ซึ่งเป็นการคณะกรรมการ พชอ. โดยตำแหน่ง ได้มีการทำงานร่วมกับพี่เขตพื้นที่ในการขับเคลื่อนโครงการสุขภาพในพื้นที่ 2.5 กระบวนการทำงานของคณะกรรมการกองทุน 2.5.1 กองทุนสุขภาพตำบลไม่มีแผนงาน แต่มีการดำเนินโครงการ ที่ได้มาจากผู้ที่เขียนโครงการตามปัญหาระดับหน่วยงาน (ผู้ขอทุนสนับสนุนจากกองทุน) 2.5.2 โครงการในกองทุนฯ มีจำนวนน้อย ทำให้เกิดการใช้งบประมาณน้อย 2.6 กระบวนการการทำงานของพี่เลี้ยงในพื้นที่ 2.6.1 มีกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการจัดทำโครงการให้กับคณะกรรมการกองทุน (ตามบทบาทของพี่เลี้ยงที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในหลักสูตรฯ) ผลที่ได้คือมีโครงการเกิดขึ้นในบางกองทุนฯ (กองทุนฯ ที่พี่เลี้ยงเป็นคณะกรรมการ) 2.6.2 พี่เลี้ยงระดับจังหวัด มีความชำนาญในด้านการปฏิบัติงานในพื้นที่ ประชาชนในพื้นที่มีความเชื่อมั่น ทำให้เกิดการส่วนร่วมในการดำเนินโครงการในพื้นที่ 2.7 ช่องทางการสื่อสารและกระบวนการสื่อสารงานระหว่างคณะทำงาน พบว่า พี่เลี้ยงจังหวัดได้มีการสื่อสารกับคณะกรรมการกองทุน (บางกองทุนฯ ที่พี่เลี้ยงจังหวัดเป็นคณะกรรมการฯ) แต่ทั้งนี้ เมื่อพี่เลี้ยงเขตตรวจสอบข้อมูลในระบบพบว่า กรอกข้อมูลไม่ครบถ้วน ส่งผลให้พี่เลี้ยงระดับเขต เข้าใจว่าพี่เขตเลี้ยงจังหวัดไม่มีการสื่อสารข้อมูลระหว่างกองทุนฯ 2.8 กระบวนการทำงานของพี่เลี้ยงเขต 2.8.1 กระบวนการคัดเลือกพี่เลี้ยงระดับจังหวัด โดยการสมัครใจเป็นสิ่งที่ดี แต่ควรพัฒนาศักยภาพให้ครอบคลุมทุกด้าน 2.8.2 หลักสูตรในการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงระดับจังหวัด ไม่ส่งผลให้พี่เลี้ยงระดับจังหวัดดำเนินการในการจัดทำแผนกองทุน และ แผน พชอ. 2.9 กระบวนการเชื่อมโยงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (พชอ. คณะกรรมการกองทุนฯ พี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงพื้นที่) พบว่าขาดความเชื่อมโยงและการบรูณาการระหว่างพชอ.กับกองทุน เนื่องด้วยพี่เลี้ยงระดับจังหวัดไม่มีอำนาจสั่งการคณะกรรมการ พชอ.


    ข้อเสนอแนะ
  3. ต้องให้หน่วยงานระดับนโยบาย (พชอ.) ได้รับรู้ข้อมูลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ถึงภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้น ซึ่งจะทำให้เกิดแผนการทำงาน ที่มีความเชื่อมโยงกับหน่วยงานทุกภาคส่วน
  4. ควรมีการกำหนดนโยบายระดับอำเภอ
  5. ในปีที่ผ่านมา มีโครงการที่จัดทำ โดยเน้นในด้านกิจกรรมทางกาย (ไม่ใช่โครงการที่ได้มาจากแผนงาน)
  6. ในปีงบประมาณ 2564 ได้มีการประชุมเพื่อกำหนดแผนงานด้านอาหาร โดยคณะกรรมการกองทุน ทุกกองทุนในพื้นที่
  7. โครงการที่ดำเนินงานในพื้นที่ พบว่าไม่มีแผนงานกองทุน และแผนงาน พชอ.
  8. ควรมีระบบทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด เพื่อให้เกิดความครอบคลุมในการให้คำปรึกษา เพื่อให้โครงการดำเนินกิจกรรมได้มีประสิทธิภาพ
  9. พี่เลี้ยงจังหวัดควรกระตุ้นให้คณะกรรมการกองทุนฯ กรอกข้อมูลในระบบให้ครบถ้วน สมบูรณ์เพื่อให้เห็นการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
  10. ควรจัดทำทีมพี่เลี้ยงจังหวัด โดยกำหนดคุณสมบัติในทีมพี่เลี้ยงจังหวัดให้มีทักษะที่จำเป็น เช่น สารสนเทศ วิชาการ ปฏิบัติการในพื้นที่
  11. ควรมีกระบวนในการชี้แจ้ง บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ พชอ. คณะกรรมการกองทุนฯ

 

 


โครงการบูรณาการกลไกสุขภาพชุมชน เขต 12 อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมชาย ละอองพันธุ์ นายเสรี เซะ นายมะกะตา เจ๊ะมะ นางนิมล หยีนิมะ นางเพียงกานต์ เด่นดารา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด