ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์

แบบติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation)

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์

ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2561 - 15 มีนาคม 2562

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้

1. ข้อมูลชุมชนใดบ้างที่มีและที่ใช้ข้อมูลในการดำเนินโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะกาย

1.แฟ้มข้อมูลสุขภาพ ระดับบุคคลและระดับครอบครัว 2.รายงานการป่วยในรอบ 6 เดือน พบว่า ผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษาด้วยอาการท้องเสีย จำนวน 20 ราย โดยป่วยเป็นโรคอาหารเป็นพิษ จำนวน 5 ราย ซึ่งมีสาเหตุการป่วยจากการรับประทานอาหาร หรือผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับอาหารที่หาซื้อมาจากร้านค้าหรือสถานที่จำหน่ายในตลาดสดเก้าเลี้ยว

โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว, 2561

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะจิต

สมาชิกเกิดการรวมกลุ่ม

ข้อมูลของสมาชิกทางด้านการผลิต

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะสังคม

1.ประเด็นยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน 4 ด้าน ดังนี้ (1) บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (2) พัฒนาศักยภาพการผลิตสินค้าเกษตรเพื่ออุตสาหกรรมและการแปรรูป (3) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติ และ (4) พัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์และเสริมสร้างสังคมเข้มแข็ง

2.การสำรวจร้านค้าหรือสถานที่จำหน่ายอาหารหรือสถานที่สะสมอาหารบริเวณตลาดเก้าเลี้ยว โดย พบว่า บริเวณตลาดเก้าเลี้ยวมีร้านชำ ร้านจำหน่ายอาหารและผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับอาหาร รวมกว่า 120 แห่ง

1.สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2. (2561). แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561-2564) ภาคเหนือตอนล่าง 2. (เอกสารอัดสำเนา).

2.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว, 2561

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
4. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะปัญญา

 

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
5. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะปัจเจก

แฟ้มข้อมูลสุขภาพ ระดับบุคคลและระดับครอบครัว

โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว, 2561

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
6. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะครอบครัว

 

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
7. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะชุมชน

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน อันประกอบด้วย การสร้างเสริมสุขภาพจิต การออกกำลังกาย การอนามัยสิ่งแวดล้อม และการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย เพื่อนำไปสู่การสร้างเสริมสุขภาวะที่ดีด้วยปัจจัยพื้นฐานด้านอาหารการกิน การจัดการอาหารที่ดี ทั้งรสชาติและความปลอดภัยในการผลิตอาหารที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน

เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้ศูนย์จัดการเครือข่ายตำบลสุขภาวะ ภายใต้โครงการภาคีท้องถิ่นก้าวไกลร่วมใจพัฒนาชุมชนสู่ตำบลสุขภาวะ. (เอกสารอัดสำเนา).

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
99. อื่นๆ

 

 

2. การดำเนินโครงการนี้สอดคล้องกับแผนเดิมหรือมีการทบทวนแผนที่มีอยู่เดิมต่อไปนี้อย่างไร

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. แผนชุมชน

 

กองทุนสุขภาพตำบลเก้าเลี้ยว

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. แผนของท้องถิ่น

 

เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. แผนของหน่วยงานราชการ

 

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม, โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเก้าเลี้ยว, ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
99. แผนอื่นๆ

นโยบายสาธารณะ ที่มีการกำหนดประเด็นปัญหา วิธีการแก้ไขปัญหาร่วมกัน มีการจัดทำข้อตกลงร่วมกันของชุมชน

เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้ศูนย์จัดการเครือข่ายตำบลสุขภาวะ ภายใต้โครงการภาคีท้องถิ่นก้าวไกลร่วมใจพัฒนาชุมชนสู่ตำบลสุขภาวะ. (เอกสารอัดสำเนา).

3. ทุนของชุมชนที่มีส่วนสำคัญต่อการดำเนินงานของโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชน

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เริ่มชัดเจน จากวิถีการดำเนินชีวิตแบบดั้งเดิมที่ใช้การคมนาคมทางเรือที่ทำให้ประชาชนมีอาชีพค้าขายเปลี่ยนวิถีชีวิตเกษตรกรรมจึงทำให้ผู้นำเทศบาลตำบลเก้าเลี้ยวจำเป็นต้องมีการสร้างการมีส่วนร่วมเพื่อให้เกิดการรับรู้และสร้างความยั่งยืนในการประกอบอาชีพ

เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้ศูนย์จัดการเครือข่ายตำบลสุขภาวะ ภายใต้โครงการภาคีท้องถิ่นก้าวไกลร่วมใจพัฒนาชุมชนสู่ตำบลสุขภาวะ. (เอกสารอัดสำเนา).

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. วัฒนธรรม วิถีชีวิตที่มีอยู่ในชุมชน

พัฒนาคุณภาพชีวิตบนฐานวัฒนธรรม ตำบลเก้าเลี้ยวมีการพัฒนาระบบการจัดการสุขภาวะชุมชนโดยชุมชน ผ่านการเชื่อมโยงเครือข่ายของการพัฒนาโดยเริ่มต้นจากชุมชนสู่ตำบล และจากตำบลสู่เครือข่ายในประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกัน โดยเฉพาะการดำเนินงานที่สามารถตอบสนองและเกื้อกูลวิถีชีวิตของคนในตำบล ตามสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมด้านความเป็นอยู่

เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้ศูนย์จัดการเครือข่ายตำบลสุขภาวะ ภายใต้โครงการภาคีท้องถิ่นก้าวไกลร่วมใจพัฒนาชุมชนสู่ตำบลสุขภาวะ. (เอกสารอัดสำเนา).

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. ภูมิปัญญาที่มีอยู่ในชุมชน

แหล่งเรียนรู้ สถานที่ถ่ายทอดองค์ความรู้หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชน รวมถึงการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง องค์กรชุมชนกับหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสถานที่ที่สะท้อนถึงองค์ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาของท้องถิ่น นวัตกรรมของชุมชน วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี แหล่งธรรมชาติของชุมชน วิถีชีวิตของคนในชุมชน สภาพแวดล้อมของชุมชน ที่เอื้อต่อการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ สามารถนำไปใช้อย่างเป็นรูปธรรมต่อชุมชน และสังคม

เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้ศูนย์จัดการเครือข่ายตำบลสุขภาวะ ภายใต้โครงการภาคีท้องถิ่นก้าวไกลร่วมใจพัฒนาชุมชนสู่ตำบลสุขภาวะ. (เอกสารอัดสำเนา).

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
4. เศรษฐกิจของชุมชน

การสำรวจร้านค้าหรือสถานที่จำหน่ายอาหารหรือสถานที่สะสมอาหารบริเวณตลาดเก้าเลี้ยว โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (2561) พบว่า บริเวณตลาดเก้าเลี้ยวมีร้านชำ ร้านจำหน่ายอาหารและผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับอาหาร รวมกว่า 120 แห่ง

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว, 2561

4. คน กลุ่มคน เครือข่ายสำคัญที่มีส่วนร่วมในโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. คน กลุ่มคน เครือข่ายที่เป็นภาคีหลัก (หมายถึงแกนนำที่เป็นผู้ปฏิบัติการของโครงการ)

1.องค์กรชุมชน ท้องถิ่น ท้องที่ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กรศาสนา และประชาชนในพื้นที่ ที่ร่วมกันเสนอความคิดเห็น หาแนวทางในการแก้ปัญหา และสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เพื่อทำให้ตำบลเก้าเลี้ยว บรรลุเป้าหมายในการพัฒนาพื้นที่

2.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่นำพาประชาชนไปสู่การพัฒนาด้านสุขภาพและคุณภาพชีวิตของภาคประชาชน

1.เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้ศูนย์จัดการเครือข่ายตำบลสุขภาวะ ภายใต้โครงการภาคีท้องถิ่นก้าวไกลร่วมใจพัฒนาชุมชนสู่ตำบลสุขภาวะ. (เอกสารอัดสำเนา).

2.โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว, 2561

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. คน กลุ่มคน เครือข่ายที่เป็นภาคียุทธศาสตร์ (หมายถึงแกนนำที่เป็นผู้ผลักดัน หรือมีอิทธิพลต่อความสำเร็จของโครงการ)

หน่วยงานหรือองค์กรภายนอกที่ร่วมหนุนเสริมการดำเนินงานของตำบลเก้าเลี้ยว ซึ่งเป็นหน่วยงานหรือองค์กรที่ให้การสนับสนุนการดำเนินงานที่นำไปสู่การขับเคลื่อนและพัฒนาชุมชนในด้านต่างๆ เช่น องค์ความรู้ บุคลากร งบประมาณ สถานที่ เป็นต้น

เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว. (2561). รายงานผลการดำเนินงานเทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ ประจำปีงบประมาณ 2561. (เอกสารอัดสำเนา).

5. งบประมาณและทรัพยากร

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. งบประมาณ

1.โครงการฯ ขอรับทุนสนับสนุนจากสำนักสร้างสรรค์โอกาสและนวัตกรรม (สำนัก 6) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

2.การสนับสนุนงบประมารในการจัดมหกรรม การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคอาหารปลอดภัยในชุมชน

ภายใต้การบริหารจัดการ โดย หน่วยจัดการจังหวัดนครสวรรค์ (Node Flagship) ประจำปี 2561-2562 กองทุนสุขภาพชุมชนตำบลเก้าเลี้ยว

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. ทรัพยากรอื่นๆ

1.กองทุนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล (เงินทุนหมู่บ้านละ 1 ล้านบาท โดยผ่านทางอำเภอลงชุมชน) มีการบริหารจัดการกันเอง โดยคนในชุมชน ในรูปแบบของคณะกรรมการ เพื่อนำมาสร้างงาน สร้างอาชีพ ใช้หนี้นอกระบบ ต่อยอดในการทำกิจการต่างๆ

2.เกษตรกรมีปัญหาเรื่องการลงทุนในการเกษตร ปุ๋ย ยา สารเคมี มีราคาแพง ต้นทุนในการผลิตสูง กลุ่มเกษตรกรจึงรวมตัวกัน ช่วยกันลงแรงหมุนเวียนกัน คนในชุมชนมีการดำรงชีพที่ดีขึ้น รัก สามัคคี ช่วยเหลือกัน และมีสุขภาพดี

3.การสนับสนุนบุคลากรและเจ้าหน้าที่ในการตรวจหาชื้อปนเปื้อนในอาหาร พร้อมข้อมูลผู้ที่ได้รับผลกะทบทางด้านสุขภาพทางด้านอาหาร

4.ประชาสัมพันธ์โครงการ การณรงค์ผ่านสื่อของเทศบาล

5.สนับสนุนอาคาร สถานที่ ห้องประชุมในการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ และการจัดกิจกรรม

6.ประชาสัมพันธ์ และวิทยุชุมชน

1.กองทุนหมู่บ้านหาดเสลา หมู่ 5

2.กลุ่มผักปลอดภัย, 2553

3.โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว

4.เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว

5.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเก้าเลี้ยว

6.วัดเก้าเลี้ยว