แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ ”
ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
หัวหน้าโครงการ
ผศ.ชยภรณ บุญเรืองศักดิ์
ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์
ที่อยู่ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 15 มีนาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2561 - 15 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามแนวคิดหลักของการพัฒนาสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ดังนั้นจึงมีการกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการได้แก่ ด้านสุขภาพจิต การออกกำลังกาย การอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาหารสะอาดปลอดภัย ซึ่งจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีด้วย ปัจจัยพื้นฐานด้านอาหารนับว่าเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน การจัดการอาหารที่ดี นอกจากจะคำนึงถึงรสชาติและ ยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะคำนึงถึงรสชาติแล้ว ยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญในรอบสามเดือนที่ผ่านมา พบผู้ที่ไปซื้อผลิตภันฑ์ทางด้านอาหารในตลาดสดเก้าเลี้ยว มีอาการท้องเสีย จำนวน 20 คนและอาหารเป็นพิษจำนวน 5 ราย ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร เจ้าของร้านขายของชำ รวมถึง อสม. ต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารทุกขั้นตอน และตระหนักถึงความสำคัญในการประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ดังนั้นกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเก้าเลี้ยว มองเห็นว่าในตลาดเก้าเลี้ยว มีร้านชำ ร้านขายอาหาร จำนวน 120 แห่ง ได้เห็นความสำคัญของการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ให้ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐานและผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการที่ได้เข้ามาใช้บริการในการซื้อสินค้าเพื่อนำไปอุปโภคและบริโภคและเป็นการเฝ้าระวังให้ตลาดสดในตำบลเก้าเลี้ยวและผู้ประกอบการในการขายอาหารให้มีมาตรฐานในการให้บริการต่อผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว ประจำปี 2561 เพื่อไม่ให้ผู้บริโภคได้รับอันตรายหรือพิษภัยจากอาหาร ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร เพื่อนำไปสู่ตำบลที่คนในชุมชนมีความสุขทั้งทางกาย ทางใจ ทางสุขภาพและการอานามัยสิ่งแวดล้อม นำไปสู่สุขภาพที่ดีในการบริโภคอาหาร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนกิจกรรมและวิธีดำเนินงานของโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
- เพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
- เพื่อประเมินความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนกิจกรรมและตัวชี้วัดผลลัพธ์ของโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมหารือแนวทางการประเมินผลโครงการ (แนะนำทีม/วิเคราะห์โครงการที่จะประเมินผล)
- ประชุมปรึกษาหารือ เพื่อกำหนดกรอบและแนวทางการประเมินโครงการ ครั้งที่ 1
- ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์แกนนำที่บริหารโครงการ
- ประสานงานกับเครือข่ายเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อประเมินโครงการ
- ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1
- ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2
- ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 3
- ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 4
- คืนข้อมูลให้กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและผู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
120
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
คณะทำงาน
20
ร้านค้าในชุมชน
3
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดคณะทำงานที่มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถ ในการขับเคลื่อนงาน
- มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคทางด้านอาหารผู้ใช้บริการในชุมชนตำบลเก้าเลี้ยว ให้ถูกสุขลักษณะทางโภชนาการทางด้านอาหาร
- มีการปรับปรุงสถานที่ขายอาหารรวมถึงการแต่งกายของผู้ประกอบการอาหารทางด้านผลิตสินค้าบริโภคให้ถูกสุขลักษณะตามหลักโภชนาการ
- มีข้อตกลงผู้ผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภคมีมาตรฐานในการผลิตสินค้าก่อนที่จะออกจำหน่ายให้กับคนในชุมชนตำบลเก้าเลี้ยว รวมถึงมีการตรวจสอบคุณภาพสินค้า ที่นำมาจำหน่าย ตรวจสอบน้ำมันในการผลิตสินค้ามีการนำน้ำมันมาใช้ซ้ำหรือไม่ โดยผ่านกะบวนการในการสำรวจหาชื้อแบคทีเรีย หาสารปนเปื้อนในอาหารสดผักสดในตลาดเก้าเลี้ยว ร้านไหนผ่านเกณฑ์ในการตรวจสอบ ก็จะทำป้ายติดหน้าร้านให้เห็นเด่นชัด
- เสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้บริโภคในเรื่องสุขภาพในเรื่องอาหารการกินของประชาชนในตำบลเก้าเลี้ยว
ุ6. ร้านอาหารตามสั่งจำนวน 5 ร้าน มีความรู้เรื่องการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพ
- คนในชุมชนหันมาบริอาหารปลอดภัยและนำไปสู่แผนภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมหารือแนวทางการประเมินผลโครงการ (แนะนำทีม/วิเคราะห์โครงการที่จะประเมินผล)
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
- แนะนำโครงการ และทีมประเมิน
- ศึกษาบริบทโครงการ แผนการดำเนินงาน กิจกรรม ตัวชี้วัดโครงการ
- ผู้รับผิดชอบโครงการ (พื้นที่) นำเสนอกรอบการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สร้างความคุ้นเคย พร้อมแนะนำโครงการประเมิน และทีมประเมิน
- ทราบบริบทโครงการ แผนการดำเนินงาน กิจกรรม ตัวชี้วัดโครงการ
- ผู้รับผิดชอบโครงการ (พื้นที่) นำเสนอกรอบการดำเนินงาน
15
0
2. ประชุมปรึกษาหารือ เพื่อกำหนดกรอบและแนวทางการประเมินโครงการ
วันที่ 1 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- สอบทานข้อมูลโครงการ เพื่อวิเคราะห์กิจกรรมของโครงการ จำแนกตามปัจจัยกำหนดภาวะสุขภาพ และ OTTAWA Charter
- ยกร่างแบบฟอร์มในการบันทึกข้อมูล และแนวทางการติดตามและประเมินผล
- จัดทำกรอบการติดตามและประเมินผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- วิเคราะห์กิจกรรมของโครงการ จำแนกตามปัจจัยกำหนดภาวะสุขภาพ และ OTTAWA Charter
- ยกร่างแบบฟอร์มในการบันทึกข้อมูล และแนวทางการติดตามและประเมินผล
- จัดทำกรอบการติดตามและประเมินผล
13
0
3. ประสานงานกับเครือข่ายเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อประเมินโครงการ
วันที่ 2 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงกรอบการประเมินผล
- นัดหมายผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการติดตามประเมินผล ดังนี้
(1) ความเป็นมา
(2) วัตถุประสงค์ในการประเมิน
(3) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญและผู้เกี่ยวข้องกับการประเมิน
(4) ระยะเวลาดำเนินการประเมิน
17
0
4. ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์แกนนำที่บริหารโครงการ
วันที่ 3 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์แกนนำที่บริหารโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดำเนินการสัมภาษณ์ สนทนากลุ่มแกนนำที่บริหารโครงการ ตามกรอบการติดตามและประเมินผล (ตามแนวทางของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), กฎบัตรออตตาวา (OTTAWA Charter) และบริบทของพื้นที่) รวมถึงการประชุมคณะทำงานและการมอบหมายบทบาทหน้าที่ร่วมกัน
20
0
5. ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1
วันที่ 26 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) และติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) ของโครงการ ได้แก่ (1) การนำใช้ข้อมูลชุมชนในการดำเนินโครงการ (2) ความสอดคล้องและการทบทวนแผนที่มีอยู่เดิม (แผนชุมชน แผนของท้องถิ่น แผนของหน่วยงาน แผนอื่นๆ) กับการดำเนินโครงการ (3) ทุนของชุมชนที่มีส่วนสำคัญต่อการดำเนินงานของโครงการ (4) คน กลุ่มคน เครือข่ายสำคัญที่มีส่วนร่วมในโครงการ และ (5) งบประมาณและทรัพยากร รวมถึงดำเนินการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation) ประกอบด้วย (1) กิจกรรมของโครงการ (2) ระยะเวลา (3) เป้าหมาย วิธีการ (5) ผลการดำเนินงาน และ (6) ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
14
0
6. ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2
วันที่ 22 มกราคม 2562กิจกรรมที่ทำ
การประเมินผลการดำเนินงาน (Performance Product Evaluation)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประเมินผลการดำเนินงาน (Performance Product Evaluation) ประกอบด้วย (1) วัตถุประสงค์ หรือตัวชี้วัด (Indicator) สถานการณ์ เป้าหมาย (2) ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ และ (3) ข้อสังเกตที่สำคัญ
16
0
7. ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 3
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
วิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า พร้อมแนวทางการพัฒนาต่อ ประกอบด้วย (1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับคน กลุ่มคน เครือข่าย (2) การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ และ (3) การเปลี่ยนกลไกและกระบวนการในชุมชนที่เอื้อต่อสุขภาวะ
18
0
8. ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 4
วันที่ 14 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ ดังนี้ (1) ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน (2) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ (3) การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ (4) ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน (5) กระบวนการชุมชน และ (6) มิติสุขภาวะปัญญา สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
13
0
9. คืนข้อมูลให้กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและผู้ที่เกี่ยวข้อง
วันที่ 15 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
คืนข้อมูลให้กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันตรวจสอบและสอบทานข้อมูลก่อนนำไปจัดทำรายงานการประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร่วมกันตรวจสอบและสอบทานข้อมูลก่อนนำไปจัดทำรายงานการประเมินผลโครงการ และร่วมสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ปัญหา อุปสรรคจากการดำเนินโครงการ และแนวทางการปรับปรุงโครงการ
13
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนกิจกรรมและวิธีดำเนินงานของโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
ตัวชี้วัด :
1.00
2
เพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
ตัวชี้วัด :
1.00
3
เพื่อประเมินความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนกิจกรรมและตัวชี้วัดผลลัพธ์ของโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
ตัวชี้วัด :
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
173
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
-
วัยเรียน (6-12 ปี)
-
วัยรุ่น (13-15 ปี)
-
เยาวชน (15-20 ปี)
-
วัยทำงาน
120
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
-
ผู้หญิง
-
มุสลิม
-
พระภิกษุ
-
ชาติพันธุ์
-
ผู้ต้องขัง
-
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
-
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
-
แรงงานข้ามชาติ
-
อื่น ๆ
-
คณะทำงาน
20
ร้านค้าในชุมชน
3
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผศ.ชยภรณ บุญเรืองศักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ ”
ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์หัวหน้าโครงการ
ผศ.ชยภรณ บุญเรืองศักดิ์
ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์
ที่อยู่ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 15 มีนาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2561 - 15 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามแนวคิดหลักของการพัฒนาสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ดังนั้นจึงมีการกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการได้แก่ ด้านสุขภาพจิต การออกกำลังกาย การอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาหารสะอาดปลอดภัย ซึ่งจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีด้วย ปัจจัยพื้นฐานด้านอาหารนับว่าเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน การจัดการอาหารที่ดี นอกจากจะคำนึงถึงรสชาติและ ยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะคำนึงถึงรสชาติแล้ว ยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญในรอบสามเดือนที่ผ่านมา พบผู้ที่ไปซื้อผลิตภันฑ์ทางด้านอาหารในตลาดสดเก้าเลี้ยว มีอาการท้องเสีย จำนวน 20 คนและอาหารเป็นพิษจำนวน 5 ราย ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร เจ้าของร้านขายของชำ รวมถึง อสม. ต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารทุกขั้นตอน และตระหนักถึงความสำคัญในการประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ดังนั้นกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเก้าเลี้ยว มองเห็นว่าในตลาดเก้าเลี้ยว มีร้านชำ ร้านขายอาหาร จำนวน 120 แห่ง ได้เห็นความสำคัญของการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ให้ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐานและผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการที่ได้เข้ามาใช้บริการในการซื้อสินค้าเพื่อนำไปอุปโภคและบริโภคและเป็นการเฝ้าระวังให้ตลาดสดในตำบลเก้าเลี้ยวและผู้ประกอบการในการขายอาหารให้มีมาตรฐานในการให้บริการต่อผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว ประจำปี 2561 เพื่อไม่ให้ผู้บริโภคได้รับอันตรายหรือพิษภัยจากอาหาร ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร เพื่อนำไปสู่ตำบลที่คนในชุมชนมีความสุขทั้งทางกาย ทางใจ ทางสุขภาพและการอานามัยสิ่งแวดล้อม นำไปสู่สุขภาพที่ดีในการบริโภคอาหาร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนกิจกรรมและวิธีดำเนินงานของโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
- เพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
- เพื่อประเมินความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนกิจกรรมและตัวชี้วัดผลลัพธ์ของโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมหารือแนวทางการประเมินผลโครงการ (แนะนำทีม/วิเคราะห์โครงการที่จะประเมินผล)
- ประชุมปรึกษาหารือ เพื่อกำหนดกรอบและแนวทางการประเมินโครงการ ครั้งที่ 1
- ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์แกนนำที่บริหารโครงการ
- ประสานงานกับเครือข่ายเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อประเมินโครงการ
- ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1
- ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2
- ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 3
- ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 4
- คืนข้อมูลให้กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและผู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | ||
วัยทำงาน | 120 | |
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | 30 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
ผู้พิการ | ||
ผู้หญิง | ||
มุสลิม | ||
พระภิกษุ | ||
ชาติพันธุ์ | ||
ผู้ต้องขัง | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | ||
แรงงานข้ามชาติ | ||
อื่น ๆ | ||
คณะทำงาน | 20 | |
ร้านค้าในชุมชน | 3 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดคณะทำงานที่มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถ ในการขับเคลื่อนงาน
- มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคทางด้านอาหารผู้ใช้บริการในชุมชนตำบลเก้าเลี้ยว ให้ถูกสุขลักษณะทางโภชนาการทางด้านอาหาร
- มีการปรับปรุงสถานที่ขายอาหารรวมถึงการแต่งกายของผู้ประกอบการอาหารทางด้านผลิตสินค้าบริโภคให้ถูกสุขลักษณะตามหลักโภชนาการ
- มีข้อตกลงผู้ผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภคมีมาตรฐานในการผลิตสินค้าก่อนที่จะออกจำหน่ายให้กับคนในชุมชนตำบลเก้าเลี้ยว รวมถึงมีการตรวจสอบคุณภาพสินค้า ที่นำมาจำหน่าย ตรวจสอบน้ำมันในการผลิตสินค้ามีการนำน้ำมันมาใช้ซ้ำหรือไม่ โดยผ่านกะบวนการในการสำรวจหาชื้อแบคทีเรีย หาสารปนเปื้อนในอาหารสดผักสดในตลาดเก้าเลี้ยว ร้านไหนผ่านเกณฑ์ในการตรวจสอบ ก็จะทำป้ายติดหน้าร้านให้เห็นเด่นชัด
- เสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้บริโภคในเรื่องสุขภาพในเรื่องอาหารการกินของประชาชนในตำบลเก้าเลี้ยว ุ6. ร้านอาหารตามสั่งจำนวน 5 ร้าน มีความรู้เรื่องการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพ
- คนในชุมชนหันมาบริอาหารปลอดภัยและนำไปสู่แผนภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมหารือแนวทางการประเมินผลโครงการ (แนะนำทีม/วิเคราะห์โครงการที่จะประเมินผล) |
||
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 0 |
2. ประชุมปรึกษาหารือ เพื่อกำหนดกรอบและแนวทางการประเมินโครงการ |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
13 | 0 |
3. ประสานงานกับเครือข่ายเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อประเมินโครงการ |
||
วันที่ 2 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชี้แจงวัตถุประสงค์ของการติดตามประเมินผล ดังนี้ (1) ความเป็นมา (2) วัตถุประสงค์ในการประเมิน (3) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญและผู้เกี่ยวข้องกับการประเมิน (4) ระยะเวลาดำเนินการประเมิน
|
17 | 0 |
4. ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์แกนนำที่บริหารโครงการ |
||
วันที่ 3 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์แกนนำที่บริหารโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดำเนินการสัมภาษณ์ สนทนากลุ่มแกนนำที่บริหารโครงการ ตามกรอบการติดตามและประเมินผล (ตามแนวทางของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), กฎบัตรออตตาวา (OTTAWA Charter) และบริบทของพื้นที่) รวมถึงการประชุมคณะทำงานและการมอบหมายบทบาทหน้าที่ร่วมกัน
|
20 | 0 |
5. ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 26 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) และติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) ของโครงการ ได้แก่ (1) การนำใช้ข้อมูลชุมชนในการดำเนินโครงการ (2) ความสอดคล้องและการทบทวนแผนที่มีอยู่เดิม (แผนชุมชน แผนของท้องถิ่น แผนของหน่วยงาน แผนอื่นๆ) กับการดำเนินโครงการ (3) ทุนของชุมชนที่มีส่วนสำคัญต่อการดำเนินงานของโครงการ (4) คน กลุ่มคน เครือข่ายสำคัญที่มีส่วนร่วมในโครงการ และ (5) งบประมาณและทรัพยากร รวมถึงดำเนินการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation) ประกอบด้วย (1) กิจกรรมของโครงการ (2) ระยะเวลา (3) เป้าหมาย วิธีการ (5) ผลการดำเนินงาน และ (6) ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
|
14 | 0 |
6. ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 22 มกราคม 2562กิจกรรมที่ทำการประเมินผลการดำเนินงาน (Performance Product Evaluation) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประเมินผลการดำเนินงาน (Performance Product Evaluation) ประกอบด้วย (1) วัตถุประสงค์ หรือตัวชี้วัด (Indicator) สถานการณ์ เป้าหมาย (2) ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ และ (3) ข้อสังเกตที่สำคัญ
|
16 | 0 |
7. ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำวิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า พร้อมแนวทางการพัฒนาต่อ ประกอบด้วย (1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับคน กลุ่มคน เครือข่าย (2) การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ และ (3) การเปลี่ยนกลไกและกระบวนการในชุมชนที่เอื้อต่อสุขภาวะ
|
18 | 0 |
8. ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 4 |
||
วันที่ 14 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ ดังนี้ (1) ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน (2) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ (3) การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ (4) ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน (5) กระบวนการชุมชน และ (6) มิติสุขภาวะปัญญา สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
|
13 | 0 |
9. คืนข้อมูลให้กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและผู้ที่เกี่ยวข้อง |
||
วันที่ 15 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำคืนข้อมูลให้กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันตรวจสอบและสอบทานข้อมูลก่อนนำไปจัดทำรายงานการประเมินผลโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร่วมกันตรวจสอบและสอบทานข้อมูลก่อนนำไปจัดทำรายงานการประเมินผลโครงการ และร่วมสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ปัญหา อุปสรรคจากการดำเนินโครงการ และแนวทางการปรับปรุงโครงการ
|
13 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนกิจกรรมและวิธีดำเนินงานของโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ ตัวชี้วัด : |
1.00 | |||
2 | เพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ ตัวชี้วัด : |
1.00 | |||
3 | เพื่อประเมินความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนกิจกรรมและตัวชี้วัดผลลัพธ์ของโครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ ตัวชี้วัด : |
1.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 173 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | - | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | - | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | - | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | - | ||
วัยทำงาน | 120 | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - | ||
คณะทำงาน | 20 | ||
ร้านค้าในชุมชน | 3 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผศ.ชยภรณ บุญเรืองศักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......