ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการส่งเสริมอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ต.เก้าเลี้ยว อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์

ชุมชน ตำบลเก้าเลี้ยว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 15 มีนาคม 2562

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤศจิกายน 2561 ถึงเดือน มกราคม 2562

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมปรึกษาหารือ เพื่อกำหนดกรอบและแนวทางการประเมินโครงการ

วันที่ 1 ธันวาคม 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. วิเคราะห์กิจกรรมของโครงการ จำแนกตามปัจจัยกำหนดภาวะสุขภาพ และ OTTAWA Charter
  2. ยกร่างแบบฟอร์มในการบันทึกข้อมูล และแนวทางการติดตามและประเมินผล
  3. จัดทำกรอบการติดตามและประเมินผล

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. สอบทานข้อมูลโครงการ เพื่อวิเคราะห์กิจกรรมของโครงการ จำแนกตามปัจจัยกำหนดภาวะสุขภาพ และ OTTAWA Charter
  2. ยกร่างแบบฟอร์มในการบันทึกข้อมูล และแนวทางการติดตามและประเมินผล
  3. จัดทำกรอบการติดตามและประเมินผล
  • photo
  • photo

 

13 0

2. ประสานงานกับเครือข่ายเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อประเมินโครงการ

วันที่ 2 ธันวาคม 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการติดตามประเมินผล ดังนี้ (1) ความเป็นมา (2) วัตถุประสงค์ในการประเมิน (3) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญและผู้เกี่ยวข้องกับการประเมิน (4) ระยะเวลาดำเนินการประเมิน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงกรอบการประเมินผล
  2. นัดหมายผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง

 

17 0

3. ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์แกนนำที่บริหารโครงการ

วันที่ 3 ธันวาคม 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ดำเนินการสัมภาษณ์ สนทนากลุ่มแกนนำที่บริหารโครงการ ตามกรอบการติดตามและประเมินผล (ตามแนวทางของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), กฎบัตรออตตาวา (OTTAWA Charter) และบริบทของพื้นที่) รวมถึงการประชุมคณะทำงานและการมอบหมายบทบาทหน้าที่ร่วมกัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์แกนนำที่บริหารโครงการ

 

20 0

4. ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1

วันที่ 26 ธันวาคม 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

การติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) ของโครงการ ได้แก่ (1) การนำใช้ข้อมูลชุมชนในการดำเนินโครงการ (2) ความสอดคล้องและการทบทวนแผนที่มีอยู่เดิม (แผนชุมชน แผนของท้องถิ่น แผนของหน่วยงาน แผนอื่นๆ) กับการดำเนินโครงการ (3) ทุนของชุมชนที่มีส่วนสำคัญต่อการดำเนินงานของโครงการ (4) คน กลุ่มคน เครือข่ายสำคัญที่มีส่วนร่วมในโครงการ และ (5) งบประมาณและทรัพยากร รวมถึงดำเนินการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation) ประกอบด้วย (1) กิจกรรมของโครงการ (2) ระยะเวลา (3) เป้าหมาย วิธีการ (5) ผลการดำเนินงาน และ (6) ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) และติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

 

14 0

5. ติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2

วันที่ 22 มกราคม 2562 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประเมินผลการดำเนินงาน (Performance Product Evaluation) ประกอบด้วย (1) วัตถุประสงค์ หรือตัวชี้วัด (Indicator) สถานการณ์ เป้าหมาย (2) ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ และ (3) ข้อสังเกตที่สำคัญ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การประเมินผลการดำเนินงาน (Performance Product Evaluation)

 

16 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 9 6                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 20,000.00 14,500.00                  
คุณภาพกิจกรรม 24 0                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
ผศ.ชยภรณ บุญเรืองศักดิ์
ผู้รับผิดชอบโครงการ