ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการประเมินผล โครงการเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ปี 62 “ลุกขึ้นมา Live in Uttaradit”

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการประเมินผล โครงการเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ปี 62 “ลุกขึ้นมา Live in Uttaradit” ”

จังหวัดอุตรดิตถ์

หัวหน้าโครงการ
ดร.ดวงกมล ภูนวล และ ดร.ภาคภูมิ โชคทวีพาณิชย์

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ปี 62 “ลุกขึ้นมา Live in Uttaradit”

ที่อยู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัด อุตรดิตถ์

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 10 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินผล โครงการเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ปี 62 “ลุกขึ้นมา Live in Uttaradit” จังหวัดอุตรดิตถ์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดอุตรดิตถ์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผล โครงการเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ปี 62 “ลุกขึ้นมา Live in Uttaradit”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินผล โครงการเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ปี 62 “ลุกขึ้นมา Live in Uttaradit” " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดอุตรดิตถ์ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2561 - 10 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เครือข่ายอุตรดิตถ์ติดยิ้มริเริ่มขึ้นจากการรวมตัวขององค์กรด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ ทั้งหน่วยงานภาครัฐ สถานศึกษา องค์กรปกครองท้องถิ่น องค์กรภาคประชาสังคม องค์กรภาคธุรกิจ และกลุ่มเยาวชน โดยได้มีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนร่วมกัน ซึ่งทำให้ค้นพบเหตุปัจจัยที่สำคัญคือเด็กและเยาวชนเติบโตขึ้นท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้และพฤติกรรมสร้างสรรค์ จึงเป็นที่มาของการรวมตัวของเครือข่ายองค์กรภาครัฐและภาคประชาชนในพื้นที่ เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดพื้นที่กิจกรรมการเรียนรู้และศิลปวัฒนธรรมสร้างสรรค์ขึ้นในจังหวัดอุตรดิตถ์ และได้เริ่มจัดเทศกาลพื้นที่สร้างสรรค์ครั้งแรกในปี 2554 ซึ่งได้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
เทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลา 9 ปี โดยมีเป้าหมายหลักคือการขับเคลื่อนให้เกิดพื้นที่สุขภาวะ พื้นที่การเรียนรู้ และพื้นที่ศิลปวัฒนธรรมสร้างสรรค์สำหรับเด็ก เยาวชน และครอบครัวในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ จากการดำเนินงานที่ผ่านมาได้มีการเติบโตขึ้นอย่างเป็นลำดับในทุกด้าน ได้แก่ การพัฒนารูปแบบกิจกรรมให้สามารถสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมกับกลุ่มเป้าหมายได้ และมีกิจกรรมรับเชิญจากทั่วประเทศและต่างประเทศมาร่วมสร้างสีสัน การพัฒนาอาสาสมัครเยาวชนคนรุ่นใหม่ซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อน การขยายความร่วมมือขององค์กรภาคีซึ่งมีหน่วยงานทุกภาคส่วนกว่า 50 องค์กร เข้ามามีส่วนร่วมอย่างหลากหลายภายใต้บทบาทและความถนัดขององค์กร การขยับขยายพื้นที่ในการจัดเทศกาลจากสวนสาธารณะมาติดตั้งในชุมชนซึ่งทำให้เกิดความสนใจของคนในพื้นที่ได้มากยิ่งขึ้น ส่งผลให้เกิดเป็นนโยบายในการขับเคลื่อนพื้นที่สร้างสรรค์ระดับจังหวัด โดยมีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่สร้างสรรค์อุตรดิตถ์ติดยิ้ม ซึ่งมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีบทบาทเป็นคณะกรรมการในการขับเคลื่อนร่วมกัน โดยก่อให้เกิดการพัฒนาต่อยอดเพื่อเปิดพื้นที่การเรียนรู้สร้างสรรค์ระดับจังหวัดร่วมกันภายใต้ชื่อ “สถานีอุตรดิตถ์ติดยิ้ม” (Hub2U) เพื่อเป็นจุดเชื่อมโยงกิจกรรมการเรียนรู้สร้างสรรค์สำหรับเด็ก เยาวชนและคนอุตรดิตถ์อย่างเป็นรูปธรรม
การจัดเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม จึงเป็นกระบวนการที่สำคัญที่ส่งผลให้การขับเคลื่อนพื้นที่ศิลปวัฒนธรรมสร้างสรรค์ในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์เติบโตและแข็งแรงขึ้นเพื่อสร้างสรรค์ประโยชน์ด้านการเรียนรู้ให้กับคนในสังคม วาระเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้มจะเกิดขึ้นในวันที่ 16-17 กุมภาพันธ์ 2562 ภายใต้แนวคิดหลักคือ “อุตรดิตถ์ติดยิ้ม ลุกขึ้นมา Live in Uttaradit” โดยเป็นการนำเสนอกิจกรรมสร้างสรรค์ที่มาจากวิถีชีวิตและศิลปวัฒนธรรมของคนอุตรดิตถ์ในรูปแบบที่หลากหลายและให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมลงมือทำและเรียนรู้ด้วยตนเอง ยกระดับต้นทุนวิถีในท้องถิ่นให้เป็นการเรียนรู้สร้างสรรค์ ซึ่งมีกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งภาคเวทีและซุ้มกิจกรรมจากภาคีอุตรดิตถ์ติดยิ้มทั้งภาครัฐและภาคประชาชน สถานศึกษา ชุมชนและกลุ่มเยาวชน รวมทั้งกิจกรรมรับเชิญจากภาคีพื้นที่นี้ดีจังตลอดจนศิลปินและนักกิจกรรมสร้างสรรค์จากทั่วประเทศ รวมทั้งเครือข่ายนักกิจกรรมสร้างสรรค์และศิลปินจากประเทศญี่ปุ่น และมาเลเซีย นำกิจกรรมและการแสดงมาร่วมสร้างสีสัน และขับเคลื่อนให้พื้นที่การเรียนรู้และพื้นที่ศิลปวัฒนธรรมสร้างสรรค์ของคนอุตรดิตถ์ได้ติดตั้งขึ้นอย่างมีคุณค่า สร้างประโยชน์ในการเรียนรู้และพัฒนาเด็ก เยาวชนและครอบครัวได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อออกแบบและติดตามประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ชี้แจง ทำความเข้าใจในการติดตาม ประเมินผลโครงการส่งเสริมบริโภคอาหารปลอดภัยและปรับสภาพแวดล้อมในบ้านผู้สูงอายุ หมู่ 2 ต้นขาม อำเภอชัยจุมพล จังหวัดอุตรดิตถ์
  2. ชี้แจง ทำความเข้าใจในการติดตาม ประเมินผลโครงการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตพอเพียงเพื่อลดเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ จังหวัดอุตรดิตถ์
  3. ร่วมออกแบบแนวทางติดตามการประเมินผลกับเครือข่าย
  4. ชี้แจง ทำความเข้าใจในการติดตาม ประเมินผลโครงการพื้นที่สร้างสรรค์ จ.อุตรดิตถ์
  5. ร่วมออกแบบแนวทางติดตามการประเมินผลกับเครือข่าย
  6. ร่วมวางแผนกิจกรรมและประเมินผลตนเองจากกิจกรรมที่ผ่านมา
  7. การติดตามประเมินผลครั้งที่ 1 ในพื้นที่พร้อมให้ข้อเสนอแนะ
  8. การติดตามประเมินผลครั้งที่ 2 ในพื้นที่
  9. ถอดบทเรียนจากการทำกิจกรรมร่วมกับแกนนำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ชี้แจง ทำความเข้าใจในการติดตาม ประเมินผลโครงการส่งเสริมบริโภคอาหารปลอดภัยและปรับสภาพแวดล้อมในบ้านผู้สูงอายุ หมู่ 2 ต้นขาม อำเภอชัยจุมพล จังหวัดอุตรดิตถ์

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

มีการชี้แจงทำความเข้าใจถึงกรอบเนื้องานหน้าที่ของนักติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ร่วมกับแกนนำชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการร่วมประชุมกับแกนนำชุมชน จำนวน 7 คน ซึ่งหลังจากการชี้แจงทำความเข้าใจถึงกรอบเนื้องานหน้าที่ของนักติดตามและการประเมินผลโครงการเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั้น แกนนำในพื้นที่มีความไม่สะดวกใจในการให้ความร่วมมือ ทำให้ผู้ประเมินผลทำการมองหาโครงการเป้าหมายใหม่

 

7 0

2. ชี้แจง ทำความเข้าใจในการติดตาม ประเมินผลโครงการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตพอเพียงเพื่อลดเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ จังหวัดอุตรดิตถ์

วันที่ 7 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

มีการชี้แจงทำความเข้าใจถึงกรอบเนื้องานหน้าที่ของนักติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ร่วมกับแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการประชุมกับผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 5 คน ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี โดยหลังจากที่ได้พูดคุยทำความเข้าใจเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ได้มีการนัดหมายเพื่อวางกรอบการทำงานต่อไป

 

5 0

3. ร่วมออกแบบแนวทางติดตามการประเมินผลกับเครือข่าย

วันที่ 15 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ทำความเข้าใจถึงรูปแบบ ขั้นตอนรวมถึงกรอบของการติดตามประเมินผลโครงการในครั้งนี้ ร่วมกับผู้รับผิดชอบโครงการและผู้ประสานงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รูปแบบและขั้นตอนในการติดตามประเมินผลโครงการ รวมทั้งกรอบแนวคิดในการติดตามโครงการในครั้งนี้ แต่ด้วยปัญหาของผู้รับผิดชอบโครงการที่มีงานรับผิดชอบในงานหลักประจำ คนรับผิดชอบโครงการจึงได้ทำเรื่องขอขยายเวลา ซึ่งได้รับการอนุมัติในการขยายเวลาดำเนินการโครงการ ทำไมผู้ติดตามและประเมินผลตัดสินใจที่จะขอเปลี่ยนแปลงงานในครั้งนี้เนื่องจากไม่เข้ากรอบเวลาของการทำงานที่ได้ถูกกำหนดไว้

 

0 0

4. ชี้แจง ทำความเข้าใจในการติดตาม ประเมินผลโครงการเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ปี 62

วันที่ 25 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

มีการชี้แจงทำความเข้าใจถึงกรอบเนื้องานหน้าที่ของนักติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ร่วมกับแกนนำชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการประชุมกับผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 15 คน ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี โดยหลังจากที่ได้พูดคุยทำความเข้าใจเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ได้มีการนัดหมายเพื่อวางกรอบการทำงานต่อไป

 

0 0

5. ร่วมออกแบบแนวทางติดตามการประเมินผลกับเครือข่ายโครงการเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ปี 62

วันที่ 26 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ทำความเข้าใจถึงรูปแบบ ขั้นตอนรวมถึงกรอบของการติดตามประเมินผลโครงการในครั้งนี้ ร่วมกับผู้รับผิดชอบโครงการและผู้ประสานงานโครงการ รวมถึงแนวทางในการดำเนินโครงการในครั้งนี้อีกด้วย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รูปแบบและขั้นตอนในการติดตามประเมินผลโครงการ รวมทั้งกรอบแนวคิดในการติดตามโครงการในครั้งนี้

 

0 0

6. ร่วมวางแผนกิจกรรมและประเมินผลตนเองจากกิจกรรมโครงการเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ปี 62

วันที่ 28 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ทำความเข้าใจในรูปแบบและรายละเอียดของการดำเนินโครงการ โดยได้ทำการประเมินผลตนเองร่วมกับผู้ประเมินโครงการจัดกิจกรรมที่ผ่านมา อีกทั้งยังมีส่วนร่วมในการวางแผนกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคต โดยเฉพาะเรื่องของการพัฒนาและติดตั้งพื้นที่กิจกรรมการเรียนรู้สร้างสรรค์ของจังหวัดอุตรดิตถ์ที่ผ่านมาและการขยายพื้นที่ต่อไปในอนาคต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ต้องการให้จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นเมืองแห่งการสร้างสรรค์ เมืองแห่งการเรียนรู้ มีพื้นที่ให้เด็ก เยาวชน ครอบครัว ชุมชน สามารถเข้าไปทำกิจกรรมได้อย่างอิสระ
  2. เด็ก เยาวชน มีศักยภาพ มีทักษะ มีพื้นที่ในการแสดงออก แสดงความสามารถ เป็น  “พลเมืองนักสร้างสรรค์” มีทักษะผู้นำ ทักษะสร้างสรรค์ การทำงานร่วมกับผู้อื่น
  3. มีนโยบายสาธารณะที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนพื้นที่สร้างสรรค์ การเรียนรู้ในระดับจังหวัด ที่สามารถกระจายลงสู่ระดับอำเภอ และชุมชนอย่างต่อเนื่อง
  4. สถานีอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ต้องการให้เป็น Hub การเรียนรู้ เป็นศูนย์รวมกิจกรรมสร้างสรรค์ เป็นที่ศึกษาดูงาน มีการจัดกิจกรรมย่อยๆ จากเครือข่ายต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ต้องการให้สถานีอุตรดิตถ์ติดยิ้มเป็นที่พบปะ สังสรรค์ของเยาวชน ครอบครัว และชุมชน มาทำกิจกรรมสร้างสรรค์ร่วมกัน พร้อมทั้งขยายเครือข่ายในการทำกิจกรรมลักษณะนี้ไปยังสถานที่อื่นๆ ให้มากขึ้น

 

0 0

7. การติดตามประเมินผลครั้งที่ 1 ในพื้นที่พร้อมให้ข้อเสนอแนะ

วันที่ 31 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ทำการติดตามและประเมินผลในการดำเนินงานครั้งที่ 1 จากการพัฒนาและขยายพื้นที่กิจกรรมการเรียนรู้สร้างสรรค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดสร้างพื้นที่ใน จ.อุตรดิตถ์เป็นเมืองแห่งการสร้างสรรค์ เมืองแห่งการเรียนรู้ มีพื้นที่ให้เด็ก เยาวชน ครอบครัว ชุมชน สามารถเข้าไปทำกิจกรรมได้อย่างอิสระ
  2. จัดพื้นที่ให้เด็ก เยาวชน มีศักยภาพ มีทักษะในการแสดงออก แสดงความสามารถ เป็น  “พลเมืองนักสร้างสรรค์” มีทักษะผู้นำ ทักษะสร้างสรรค์ การทำงานร่วมกับผู้อื่น
  3. มีการขับเคลื่อนพื้นที่สร้างสรรค์ การเรียนรู้ในระดับจังหวัด ที่สามารถกระจายลงสู่ระดับอำเภอ และชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง
  4. จัดสร้างพื้นที่สถานีอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ให้เป็นปหล่งเรียนรู้ เป็นศูนย์รวมกิจกรรมสร้างสรรค์ เป็นที่พบปะ สังสรรค์ของเยาวชน ครอบครัว และชุมชน

มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

  1. กิจกรรม “ลุกขึ้นมา Live” เชิญชวนกลุ่มเครือข่ายหรือชมรมที่รวมตัวกันทำกิจกรรมสร้างสรรค์ในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ นำกิจกรรมที่แต่ละกลุ่มได้ดำเนินงานกันอยู่แล้วมาร่วมแสดงพลังในการลุกขึ้นมาทำกิจกรรมสร้างสรรค์ สร้างกระแสให้คนในพื้นที่ตื่นตัวและสนใจในการสร้างเสริมสุขภาพ
  2. เวิร์คช็อป ArtsLive เปิดห้องเรียนรู้ให้เยาวชนและคนที่สนใจได้ร่วมกิจกรรมสร้างสรรค์การเรียนรู้จากวิถีชีวิตและศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยเชิญชวนนักกิจกรรมการเรียนรู้ ศิลปิน และผู้เชี่ยวชาญ ทั้งในและนอกพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ เปิดห้องเวิร์คช็อป ArtsLive เน้นการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ผลงานศิลปะจากสิ่งที่มีอยู่รอบตัวในวิถีชีวิตและชุมชน
  3. เวทีการแสดงสร้างสรรค์ นำเสนอการแสดงสร้างสรรค์ทั้งในรูปแบบการแสดงศิลปวัฒนธรรม และการแสดงสมัยใหม่ อาทิ การแสดงดนตรี ละครเวที หุ่นนิทาน การแสดงความสามารถพิเศษ ฯลฯ รวมทั้งสื่อมหรสพสร้างสรรค์ต่างๆ จากศิลปินและคณะการแสดงทั้งมืออาชีพและมือสมัครเล่น การแสดงของเยาวชน ฯลฯ โดยมีทั้งคณะการแสดงในพื้นที่ ศิลปินรับเชิญจากทั่วประเทศ การแสดงจากศิลปินต่างประเทศ (ญี่ปุ่น มาเลเซีย) และการแสดงที่สร้างสรรค์ร่วมกันระหว่างศิลปินต่างประเทศและคนไทย ซึ่งจะมีการแสดงวันละ 20 ชุดขึ้นไป เพื่อเป็นพื้นที่ให้คนรุ่นใหม่ได้เห็นรูปแบบการแสดงและการสื่อสารสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ตลอดจนเปิดโอกาสให้นักแสดงรุ่นใหม่ได้มีพื้นที่ในการนำเสนอผลงาน
  4. ลานกิจกรรมสร้างสรรค์ รวบรวมกิจกรรมการเรียนรู้ วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรมสร้างสรรค์ในหลากหลายรูปแบบและเนื้อหา ทั้งกิจกรรมจากภาคีพื้นที่สร้างสรรค์ สถานศึกษา ชุมชน หน่วยงานในพื้นที่ และกิจกรรมสร้างสรรค์จากทั่วประเทศมาร่วมสร้างสีสัน โดยมีรูปแบบและเนื้อหาที่หลากหลาย อาทิ สื่อสร้างสรรค์ ลานศิลปะ เกมส์ นิทรรศการ อาหาร งานดีไอวาย ตลาดผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ ฯลฯ โดยแบ่งเป็นลานกิจกรรมย่อยตามเนื้อหาและรูปแบบกิจกรรม
  5. กิจกรรม ติดยิ้มออนทัวร์ (เยี่ยมห้องเรียนมีชีวิต วิถีชุมชนสร้างสรรค์) เชิญชวนและรับสมัครผู้ที่มีความสนใจลงพื้นที่ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ในพื้นที่จริง กับภาคีเครือข่ายอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ที่กระจายตัวอยู่รอบเมืองอุตรดิตถ์ โดยมีรูปแบบทักษะและประเด็นเนื้อหาที่หลากหลายตามภารกิจของแต่ละพื้นที่เรียนรู้ ซึ่งได้เปิดเป็นพื้นที่การเรียนรู้สาธารณะผ่านกิจกรรมทักษะชีวิตสร้างสรรค์ โดยใช้ต้นทุนทางทรัพยากรและวิถีชุมชน
  6. โปรแกรม เจแปนดีจัง Live in Uttaradit
    ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายพื้นที่นี้ดีจัง เชิญคณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยและคณะศิลปินจากประเทศญี่ปุ่นมาร่วมจัดกิจกรรมเรียนรู้สร้างสรรค์ให้กับเด็กและเยาวชนในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยรูปแบบการดำเนินงานเป็นการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์ เพื่อสร้างผลงานการแสดงสร้างสรรค์ของเด็กและเยาวชนร่วมกับศิลปิน

 

0 0

8. การติดตามประเมินผลครั้งที่ 2 ในพื้นที่

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

ทำการติดตามและประเมินผลในการดำเนินงานครั้งที่ 2 จากการพัฒนาและขยายพื้นที่กิจกรรมการเรียนรู้สร้างสรรค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต - มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย จากหลายกลุ่ม/องค์กร จากภาครัฐและเอกชน - คนที่เข้าร่วมกิจกรรมทั้งในระดับกลุ่มย่อย (พื้นที่รูปธรรม) และการจัดเทศกาลพื้นที่สร้างสรรค์ในระดับจังหวัดมีความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดพื้นที่สร้างสรรค์มากขึ้น - การจัดกิจกรรมเป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชาชน - สามารถส่งผลให้เกิดนโยบายในระดับจังหวัด ในการสร้างพื้นที่สร้างสรรค์ให้แก่เยาวชน ครอบครัว และชุมชน (ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก พมจ. อบจ. วัฒนธรรมจังหวัดอุตรดิตถ์
ผลลัพธ์ - เกิดกลุ่มคน เครือข่าย และอาสาสมัคร มาร่วมกันขับเคลื่อนกิจกรรมในพื้นที่ และการจัดเทศกาลพื้นที่สร้างสรรค์ - เยาวชน และคนในชุมชน - เกิดความภาคภูมิใจในการทำงานพื้นที่สร้างสรรค์
        - มีทักษะในการคิด และออกแบบกิจกรรมเรียนรู้สร้างสรรค์         - มีภาวะผู้นำในการทำกิจกรรมสร้างสรรค์

 

0 0

9. ถอดบทเรียนจากการทำกิจกรรมร่วมกับแกนนำ

วันที่ 12 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ระดมความคิดกับแกนนำและผู้ที่มีส่วนร่วมหลักในการดำเนินการจัดโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กระบวนการในการพัฒนาและการติดตั้งพื้นที่กิจกรรมการเรียนรู้สร้างสรรค์ 1. หาเครือข่ายพื้นที่การเรียนรู้สร้างสรรค์  โดยเริ่มจากการหาบุคคล (Key person) ที่จะเข้ามาร่วมกิจกรรมพื้นที่สร้างสรรค์ เช่น คุณเดี่ยว จาก ฅ บ้านนอก คุณอัฑฒพงศ์ จาก บ้านตะวันยิ้ม ครูแจง จาก แมลงปอปีกแก้ว เป็นต้น 2. ร่วมกันพัฒนาศักยภาพ โดย
2.1 เรียนรู้ ความหมายและแนวคิดพื้นที่สร้างสรรค์ 2.2 ศึกษาดูงาน การจัดกิจกรรมของพื้นที่เครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ เช่น กรุงเทพฯ  เพชรบุรี เมืองปีนังประเทศมาเลเซีย ญี่ปุ่น เป็นต้น 3. สนับสนุนให้ Key person ทำงานกับเครือข่ายเยาวชน และกลุ่ม/องค์กรต่างๆในพื้นที่/ชุมชน โดยมีงบประมาณสนับสนุนในการดำเนินกิจกรรมจาก สสย. 4. จัดเทศกาลพื้นที่สร้างสรรค์ในพื้นที่รูปธรรมของแต่ละกลุ่ม/องค์กร และจัดเทศกาลพื้นที่สร้างสรรค์ในระดับจังหวัดร่วมกัน

แนวทางในการพัฒนาและขยายพื้นที่กิจกรรมการเรียนรู้สร้างสรรค์ 1. พัฒนาสถานีอุตรดิตถ์ติดยิ้มให้เป็นศูนย์การเรียนรู้สร้างสรรค์ของจังหวัดอุตรดิตถ์ พัฒนาให้เกิดโปรแกรมเรียนรู้ทั้งในระดับย่อย และระดับใหญ่ ระดับย่อยเป็นการจัดกิจกรรมเป็นระยะๆ กับกลุ่มคนที่ไม่ใหญ่ สามารถลงรายละเอียดของกิจกรรมได้มากได้แก่ การจัดกิจกรรมสื่อสารประเด็น งานศิลปะ งานฝีมือ เกษตรกรรมธรรมชาติ เป็นต้น 2. ขยายพื้นที่รูปธรรม/พื้นที่หลัก โดย พยายามหาพื้นที่ใหม่เพื่อทำกิจกรรมสร้างสรรค์ให้มากขึ้น และหาKey person ใหม่ๆ ให้เพิ่มมากขึ้น 3. พัฒนาอาสาสมัคร และขยายเครือข่ายเยาวชนอาสา โดยจัดโปรแกรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร เช่น จัดค่ายเยาวชน
4. พัฒนาโปรแกรมติดยิ้มออนทัวร์ โดยจัดโปรแกรมทัวร์พื้นที่รูปธรรม ที่ทางเครือข่ายหนุนเสริม/พัฒนาศักยภาพ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อออกแบบและติดตามประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : เกิดกระบวนการติดตามประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อออกแบบและติดตามประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชี้แจง ทำความเข้าใจในการติดตาม ประเมินผลโครงการส่งเสริมบริโภคอาหารปลอดภัยและปรับสภาพแวดล้อมในบ้านผู้สูงอายุ หมู่ 2 ต้นขาม อำเภอชัยจุมพล จังหวัดอุตรดิตถ์ (2) ชี้แจง ทำความเข้าใจในการติดตาม ประเมินผลโครงการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตพอเพียงเพื่อลดเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ จังหวัดอุตรดิตถ์ (3) ร่วมออกแบบแนวทางติดตามการประเมินผลกับเครือข่าย (4) ชี้แจง ทำความเข้าใจในการติดตาม ประเมินผลโครงการพื้นที่สร้างสรรค์ จ.อุตรดิตถ์ (5) ร่วมออกแบบแนวทางติดตามการประเมินผลกับเครือข่าย (6) ร่วมวางแผนกิจกรรมและประเมินผลตนเองจากกิจกรรมที่ผ่านมา (7) การติดตามประเมินผลครั้งที่ 1 ในพื้นที่พร้อมให้ข้อเสนอแนะ (8) การติดตามประเมินผลครั้งที่ 2 ในพื้นที่ (9) ถอดบทเรียนจากการทำกิจกรรมร่วมกับแกนนำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ปี 62 “ลุกขึ้นมา Live in Uttaradit”

ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2561 - 10 มีนาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการประเมินผล โครงการเทศกาลอุตรดิตถ์ติดยิ้ม ปี 62 “ลุกขึ้นมา Live in Uttaradit” จังหวัด อุตรดิตถ์

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ดร.ดวงกมล ภูนวล และ ดร.ภาคภูมิ โชคทวีพาณิชย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด