แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการประเมินผล การจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ”
ตำบลนาสาร อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หัวหน้าโครงการ
ดร.ดุริยางค์ วาสนา ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ
ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล การจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ที่อยู่ ตำบลนาสาร อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ 61-ข-110 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประเมินผล การจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาสาร อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผล การจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
บทคัดย่อ
การประเมินผลโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อำเภอบ้านนาสาร จังหวัด สุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ โดยใช้กรอบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ขั้นตอน คือ การกลั่นกรองโครงการหรือกิจกรรมโดยสาธารณะ การกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และการทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ เน้นผลกระทบจากโครงการที่เกิดขึ้นกับปัจจัยกำหนดสุขภาพ ประกอบด้วย ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม และกลไกหรือระบบบริการสาธารณสุข ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนา มีผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการ ทีมพี่เลี้ยงโครงการ ตัวแทนกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ตัวแทนผู้ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ และตัวแทนเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการประเมิน พบว่า การดำเนินโครงการมีความสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่และมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ โดยการดำเนินงานประกอบด้วย 4 กิจกรรมหลัก คือ 1) การสร้างทีมพี่เลี้ยงที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ เพื่อเป็นที่ปรึกษาในการดำเนินงานและสื่อสารไปยังกลุ่มองค์ชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ตามเขตรับผิดชอบที่แบ่งออกเป็น 4 โซนตามลักษณะภูมิศาสตร์ 2) การพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ สามารถจำแนกกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีความพร้อม พบว่า ประธาน คณะกรรมการ และเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ มีความเข้าใจในบทบาทและเงื่อนไขในการดำเนินงาน ส่งผลให้มีการสมทบงบประมาณเพิ่มเติมในสัดส่วนที่สูงขึ้น มีการจัดทำแผนการดำเนินงานอย่างชัดเจน และมีคณะอนุกรรมการและคณะกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการและติดตามโครงการอย่างต่อเนื่อง ส่วนกลุ่มที่ต้องพัฒนา พบว่า ประธาน คณะกรรมการ และเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ยังไม่มีความเข้าใจในบทบาทและเงื่อนไขในการดำเนินงาน ตลอดจนขาดความรู้และทักษะในการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ จึงส่งผลให้มีการอนุมัติโครงการที่ล่าช้าและไม่สามารถบริหารจัดการงบประมาณได้ 3) การพัฒนาโครงการ มีโครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณเข้ามาแต่ยังไม่สามารถยืนยันได้ว่าโครงการดังกล่าวเกิดขึ้นจากโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ และยังไม่มีการผลักดันเข้าสู่ระดับจังหวัดมีเพียงการผลักดันเข้าสู่ระดับอำเภอเท่านั้น ส่วนฐานข้อมูลที่ใช้ในการดำเนินงานเป็นการบูรณาการการใช้งานระบบฐานข้อมูลเท่านั้น และ 4) การติดตามประเมินผลโดยการลงพื้นที่และรายงานผลผ่านเว็บไซต์ พบว่า มีระบบติดตามประเมินผลส่งผลให้ผู้เกี่ยวข้องตลอดจนพี่เลี้ยงสามารถติดตามโครงการได้อย่างใกล้ชิดมากยิ่งขึ้น แต่ยังมีปัญหา คือ ไม่มีการบันทึกข้อมูลลงในระบบติดตามประเมินผล ส่งผลให้ข้อมูลที่ผู้เกี่ยวข้องตลอดจนพี่เลี้ยงได้รับทราบผ่านทางระบบติดตามประเมินผลไม่ตรงกับสภาพความเป็นจริง
สำหรับผลกระทบต่อปัจจัยกำหนดสุขภาพทางสังคม พบว่า กิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อปัจเจกบุคคล ประกอบด้วย การสร้างทีมพี่เลี้ยง การพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ และการพัฒนาโครงการ กิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย การสร้างทีมพี่เลี้ยง และการติดตามประเมินผลโดยการลงพื้นที่และรายงานผลผ่านเว็บไซต์ และกิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อกลไกหรือระบบบริการสาธารณสุข ประกอบด้วย การสร้างทีมพี่เลี้ยง การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโดยการลงพื้นที่และรายงานผลผ่านเว็บไซต์
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สำนักสนับสนุนการควบคุมปัจจัยเสี่ยงหลัก (สำนัก 1) สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) จัดทำโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เพื่อพัฒนากลไกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ในเขตบริการสุขภาพทั้ง 12 เขต โดยคาดหวังว่าจะเกิดผลลัพธ์จากการดำเนินงาน คือ มีจำนวนการขอทุนจากแหล่งทุนต่างๆ โดยเฉพาะจากกองทุนสุขภาพระดับตำบล เพื่อดำเนินโครงการด้านปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพที่มาจากสุรา ยาสูบและยาเสพติดในชุมชนเพิ่มขึ้น พัฒนารูปแบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และสารเสพติดที่ผ่านกลไกระดับท้องถิ่น คือกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เกิดองค์ความรู้และการสร้างความตระหนักที่ทำให้เกิดความมุ่งมั่นร่วมกันของชุมชน มาตรการทางสังคม หรือกติกาชุมชน (community commitment) ต่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และสารเสพติด ที่นำไปสู่การขยายผลไปสู่พื้นที่อื่น หรือนวัตกรรมการดำเนินงาน สร้างระบบฐานข้อมูล สถานการณ์และการเฝ้าระวังด้านปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ และพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อันเป็นกลไกในระดับท้องถิ่นในการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ บนพื้นฐานการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชื่อมประสานระหว่างสถาบันวิชาการ หน่วยงานในพื้นที่ ภาคประชาสังคม และชุมชน โดยมีกรอบแนวคิดหลักในการดำเนินงาน คือ การพัฒนาขีดความสามารถของกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เพื่อก่อให้เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายสุขภาพในระดับจังหวัดและระดับตำบล และเพิ่มจำนวนนักขับเคลื่อนจิตอาสาที่สามารถพัฒนาแผนงาน หรือ โครงการสำหรับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากปัญหาสุรา ยาสูบและยาเสพติด โดยมีผลลัพธ์ที่สำคัญ คือ ได้รูปแบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และสารเสพติด การผลิตองค์ความรู้ การเกิดนวัตกรรม การมีมาตรการควบคุม/ขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง และการสร้างนโยบายสาธารณะต่อไป
สำหรับโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นโครงการนำร่องในพื้นที่ภาคใต้ตอนบนและเป็นหนึ่งในโครงการใหญ่ทั้ง 12 เขตบริการสุขภาพ ดำเนินการระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน 2560 ถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2561 ดังนั้น เมื่อการดำเนินการได้เสร็จสิ้นลงตามระยะเวลาที่กำหนด จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการประเมินผลการดำเนินโครงการ โดยผู้ประเมินได้เลือกประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) อันเกิดจากการดำเนินโครงการดังกล่าว เพื่อสร้างรูปแบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงที่เหมาะสมและสามารถขยายผลไปสู่พื้นที่อื่นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการการจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สัมภาษณ์ข้อมูลเบื้องต้นโครงการ
- ประชุมวางแผนประเมินฯ
- ประชุมวางแผนประเมินฯ 21-02-2562
- สัมภาษณ์ข้อมูล 08-03-2562
- ลงพื้นที่ประเมินโครงการ 10-03-2562 ถึง 15-04-2562
- สรุปผลการประเมิน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
ตัวแทนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
17
ตัวแทนองค์กรชุมชน
17
ทีมพี่เลี้ยงโครงการ
6
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
มีรูปแบบการดำเนินการจัดการปัจจัยเสี่ยงที่ครอบคลุมการดูแลสุขภาพทั้ง 4 มิติ คือ ทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปัญญา โดยมีกลไกสนับสนุนการดำเนินงานผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมวางแผนประเมินฯ
วันที่ 5 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ประชุมวางแผนประเมินฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แผนการประเมินฯ
2
0
2. สัมภาษณ์ข้อมูลเบื้องต้นโครงการ 12-13 ธันวาคม 2562
วันที่ 12 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
สัมภาษณ์ข้อมูลเบื้องต้นโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ข้อมูลเบื้องต้นโครงการ
4
0
3. ประชุมวางแผนประเมินฯ 21-02-2562
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
ประชุมวางแผนประเมินฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แผนการประเมินและแนวทางการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
2
0
4. สัมภาษณ์ข้อมูล 08-03-2562
วันที่ 8 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
สัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการตามกรอบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการดำเนินโครงการ ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ขั้นตอน คือ การกลั่นกรองโครงการหรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (public screening) การกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (public scoping) การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing)
10
0
5. ลงพื้นที่ประเมินโครงการ 10-03-2562 ถึง 12-04-2562
วันที่ 10 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
สัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ จำนวน 3 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการตามกรอบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการดำเนินโครงการ ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ขั้นตอน คือ การกลั่นกรองโครงการหรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (public screening) การกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (public scoping) การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing)
40
0
6. สรุปผลการประเมิน 18-05-2562
วันที่ 18 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
สรุปผลการประเมิน จัดทำเอกสารรายงาน 18-05-2562
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปผลการประเมิน จัดทำเอกสารรายงานเพื่อส่งให้ สจรส.ม.อ.
2
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการการจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ตัวชี้วัด : ผลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพโครงการการพัฒนาศักยภาพฯ
- รูปแบบการขับเคลื่อนโครงการ
- ผลการประเมินโครงการ
- ผลกระทบต่อปัจจัยกำหนดสุขภาพ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
-
วัยเรียน (6-12 ปี)
-
วัยรุ่น (13-15 ปี)
-
เยาวชน (15-20 ปี)
-
วัยทำงาน
-
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
-
ผู้หญิง
-
มุสลิม
-
พระภิกษุ
-
ชาติพันธุ์
-
ผู้ต้องขัง
-
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
-
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
-
แรงงานข้ามชาติ
-
อื่น ๆ
-
ตัวแทนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
17
ตัวแทนองค์กรชุมชน
17
ทีมพี่เลี้ยงโครงการ
6
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โครงการประเมินผล การจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ 61-ข-110
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ดร.ดุริยางค์ วาสนา ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการประเมินผล การจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ”
ตำบลนาสาร อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานีหัวหน้าโครงการ
ดร.ดุริยางค์ วาสนา ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ
ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล การจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ที่อยู่ ตำบลนาสาร อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ 61-ข-110 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประเมินผล การจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาสาร อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผล การจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
บทคัดย่อ
การประเมินผลโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อำเภอบ้านนาสาร จังหวัด สุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ โดยใช้กรอบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ขั้นตอน คือ การกลั่นกรองโครงการหรือกิจกรรมโดยสาธารณะ การกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และการทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ เน้นผลกระทบจากโครงการที่เกิดขึ้นกับปัจจัยกำหนดสุขภาพ ประกอบด้วย ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม และกลไกหรือระบบบริการสาธารณสุข ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนา มีผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการ ทีมพี่เลี้ยงโครงการ ตัวแทนกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ตัวแทนผู้ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ และตัวแทนเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการประเมิน พบว่า การดำเนินโครงการมีความสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่และมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ โดยการดำเนินงานประกอบด้วย 4 กิจกรรมหลัก คือ 1) การสร้างทีมพี่เลี้ยงที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ เพื่อเป็นที่ปรึกษาในการดำเนินงานและสื่อสารไปยังกลุ่มองค์ชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ตามเขตรับผิดชอบที่แบ่งออกเป็น 4 โซนตามลักษณะภูมิศาสตร์ 2) การพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ สามารถจำแนกกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีความพร้อม พบว่า ประธาน คณะกรรมการ และเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ มีความเข้าใจในบทบาทและเงื่อนไขในการดำเนินงาน ส่งผลให้มีการสมทบงบประมาณเพิ่มเติมในสัดส่วนที่สูงขึ้น มีการจัดทำแผนการดำเนินงานอย่างชัดเจน และมีคณะอนุกรรมการและคณะกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการและติดตามโครงการอย่างต่อเนื่อง ส่วนกลุ่มที่ต้องพัฒนา พบว่า ประธาน คณะกรรมการ และเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ยังไม่มีความเข้าใจในบทบาทและเงื่อนไขในการดำเนินงาน ตลอดจนขาดความรู้และทักษะในการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ จึงส่งผลให้มีการอนุมัติโครงการที่ล่าช้าและไม่สามารถบริหารจัดการงบประมาณได้ 3) การพัฒนาโครงการ มีโครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณเข้ามาแต่ยังไม่สามารถยืนยันได้ว่าโครงการดังกล่าวเกิดขึ้นจากโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ และยังไม่มีการผลักดันเข้าสู่ระดับจังหวัดมีเพียงการผลักดันเข้าสู่ระดับอำเภอเท่านั้น ส่วนฐานข้อมูลที่ใช้ในการดำเนินงานเป็นการบูรณาการการใช้งานระบบฐานข้อมูลเท่านั้น และ 4) การติดตามประเมินผลโดยการลงพื้นที่และรายงานผลผ่านเว็บไซต์ พบว่า มีระบบติดตามประเมินผลส่งผลให้ผู้เกี่ยวข้องตลอดจนพี่เลี้ยงสามารถติดตามโครงการได้อย่างใกล้ชิดมากยิ่งขึ้น แต่ยังมีปัญหา คือ ไม่มีการบันทึกข้อมูลลงในระบบติดตามประเมินผล ส่งผลให้ข้อมูลที่ผู้เกี่ยวข้องตลอดจนพี่เลี้ยงได้รับทราบผ่านทางระบบติดตามประเมินผลไม่ตรงกับสภาพความเป็นจริง สำหรับผลกระทบต่อปัจจัยกำหนดสุขภาพทางสังคม พบว่า กิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อปัจเจกบุคคล ประกอบด้วย การสร้างทีมพี่เลี้ยง การพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ และการพัฒนาโครงการ กิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย การสร้างทีมพี่เลี้ยง และการติดตามประเมินผลโดยการลงพื้นที่และรายงานผลผ่านเว็บไซต์ และกิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อกลไกหรือระบบบริการสาธารณสุข ประกอบด้วย การสร้างทีมพี่เลี้ยง การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโดยการลงพื้นที่และรายงานผลผ่านเว็บไซต์
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สำนักสนับสนุนการควบคุมปัจจัยเสี่ยงหลัก (สำนัก 1) สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) จัดทำโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เพื่อพัฒนากลไกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ในเขตบริการสุขภาพทั้ง 12 เขต โดยคาดหวังว่าจะเกิดผลลัพธ์จากการดำเนินงาน คือ มีจำนวนการขอทุนจากแหล่งทุนต่างๆ โดยเฉพาะจากกองทุนสุขภาพระดับตำบล เพื่อดำเนินโครงการด้านปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพที่มาจากสุรา ยาสูบและยาเสพติดในชุมชนเพิ่มขึ้น พัฒนารูปแบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และสารเสพติดที่ผ่านกลไกระดับท้องถิ่น คือกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เกิดองค์ความรู้และการสร้างความตระหนักที่ทำให้เกิดความมุ่งมั่นร่วมกันของชุมชน มาตรการทางสังคม หรือกติกาชุมชน (community commitment) ต่อการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และสารเสพติด ที่นำไปสู่การขยายผลไปสู่พื้นที่อื่น หรือนวัตกรรมการดำเนินงาน สร้างระบบฐานข้อมูล สถานการณ์และการเฝ้าระวังด้านปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ และพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อันเป็นกลไกในระดับท้องถิ่นในการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ บนพื้นฐานการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชื่อมประสานระหว่างสถาบันวิชาการ หน่วยงานในพื้นที่ ภาคประชาสังคม และชุมชน โดยมีกรอบแนวคิดหลักในการดำเนินงาน คือ การพัฒนาขีดความสามารถของกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เพื่อก่อให้เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายสุขภาพในระดับจังหวัดและระดับตำบล และเพิ่มจำนวนนักขับเคลื่อนจิตอาสาที่สามารถพัฒนาแผนงาน หรือ โครงการสำหรับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากปัญหาสุรา ยาสูบและยาเสพติด โดยมีผลลัพธ์ที่สำคัญ คือ ได้รูปแบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และสารเสพติด การผลิตองค์ความรู้ การเกิดนวัตกรรม การมีมาตรการควบคุม/ขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง และการสร้างนโยบายสาธารณะต่อไป สำหรับโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นโครงการนำร่องในพื้นที่ภาคใต้ตอนบนและเป็นหนึ่งในโครงการใหญ่ทั้ง 12 เขตบริการสุขภาพ ดำเนินการระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน 2560 ถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2561 ดังนั้น เมื่อการดำเนินการได้เสร็จสิ้นลงตามระยะเวลาที่กำหนด จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการประเมินผลการดำเนินโครงการ โดยผู้ประเมินได้เลือกประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) อันเกิดจากการดำเนินโครงการดังกล่าว เพื่อสร้างรูปแบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงที่เหมาะสมและสามารถขยายผลไปสู่พื้นที่อื่นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการการจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สัมภาษณ์ข้อมูลเบื้องต้นโครงการ
- ประชุมวางแผนประเมินฯ
- ประชุมวางแผนประเมินฯ 21-02-2562
- สัมภาษณ์ข้อมูล 08-03-2562
- ลงพื้นที่ประเมินโครงการ 10-03-2562 ถึง 15-04-2562
- สรุปผลการประเมิน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | ||
วัยทำงาน | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
ผู้พิการ | ||
ผู้หญิง | ||
มุสลิม | ||
พระภิกษุ | ||
ชาติพันธุ์ | ||
ผู้ต้องขัง | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | ||
แรงงานข้ามชาติ | ||
อื่น ๆ | ||
ตัวแทนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น | 17 | |
ตัวแทนองค์กรชุมชน | 17 | |
ทีมพี่เลี้ยงโครงการ | 6 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
มีรูปแบบการดำเนินการจัดการปัจจัยเสี่ยงที่ครอบคลุมการดูแลสุขภาพทั้ง 4 มิติ คือ ทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปัญญา โดยมีกลไกสนับสนุนการดำเนินงานผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมวางแผนประเมินฯ |
||
วันที่ 5 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำประชุมวางแผนประเมินฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแผนการประเมินฯ
|
2 | 0 |
2. สัมภาษณ์ข้อมูลเบื้องต้นโครงการ 12-13 ธันวาคม 2562 |
||
วันที่ 12 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำสัมภาษณ์ข้อมูลเบื้องต้นโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นข้อมูลเบื้องต้นโครงการ
|
4 | 0 |
3. ประชุมวางแผนประเมินฯ 21-02-2562 |
||
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำประชุมวางแผนประเมินฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแผนการประเมินและแนวทางการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
|
2 | 0 |
4. สัมภาษณ์ข้อมูล 08-03-2562 |
||
วันที่ 8 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการตามกรอบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการดำเนินโครงการ ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ขั้นตอน คือ การกลั่นกรองโครงการหรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (public screening) การกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (public scoping) การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing)
|
10 | 0 |
5. ลงพื้นที่ประเมินโครงการ 10-03-2562 ถึง 12-04-2562 |
||
วันที่ 10 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ จำนวน 3 วัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการตามกรอบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการดำเนินโครงการ ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ขั้นตอน คือ การกลั่นกรองโครงการหรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (public screening) การกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (public scoping) การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing)
|
40 | 0 |
6. สรุปผลการประเมิน 18-05-2562 |
||
วันที่ 18 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำสรุปผลการประเมิน จัดทำเอกสารรายงาน 18-05-2562 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปผลการประเมิน จัดทำเอกสารรายงานเพื่อส่งให้ สจรส.ม.อ.
|
2 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการการจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตัวชี้วัด : ผลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพโครงการการพัฒนาศักยภาพฯ - รูปแบบการขับเคลื่อนโครงการ - ผลการประเมินโครงการ - ผลกระทบต่อปัจจัยกำหนดสุขภาพ |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | - | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | - | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | - | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | - | ||
วัยทำงาน | - | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - | ||
ตัวแทนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น | 17 | ||
ตัวแทนองค์กรชุมชน | 17 | ||
ทีมพี่เลี้ยงโครงการ | 6 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โครงการประเมินผล การจัดการปัจจัยเสี่ยง อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ 61-ข-110
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ดร.ดุริยางค์ วาสนา ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......