ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

การประเมินผลโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส.ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ การประเมินผลโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส.ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้ ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสมนึก นุ่นด้วง, นายถาวร คงศรี, นายเสงี่ยม ศรีทวี

ชื่อโครงการ การประเมินผลโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส.ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ ข้อตกลง เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2018 ถึง 31 ธันวาคม 2018


กิตติกรรมประกาศ

"การประเมินผลโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส.ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การประเมินผลโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส.ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินการนำแผนงานยุทธศาสตร์พันาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ.2561-2564 ไปสู่การปฏิบัติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน1 (2) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (3) สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัพัทลุง (ดร.เชิดศักดิ์) (4) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (5) เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการ (6) เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล (7) เก็บข้อมูล สัมภาษณ์เป็นรายบุคคล (8) เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล (9) ประชุมนักประเมินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่
   กลุ่มองค์กรชาวนา ควรจัดตั้ง สหกรณ์ชาวนาอินทรีย์พัทลุง ที่มีกฎหมายรับรอง เพื่อทำหน้าที่ในการช่วยเหลือต่างๆจากภาครัฐ เช่น ทำหน้าที่ในการควบคุมดูแลมาตรฐานอินทรีย์ต่างๆ ที่ยังไม่มีผู้ดูแลในการตรวจรับรอง โดย ใช้ระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม (Participatory Guarantee Systems – PGS) แบ่งประเภทชาวนาให้ชัดเชน เช่น กลุ่มชาวนาที่ผลิตเพื่อการบริโภคในครัวเรือน เพื่อการค้า ผลิตเชิงอุตสาหกรรม กลุ่มชาวนาทางเลือก กลุ่มชาวนาพื้นที่ปลูกขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ เป็นต้น    เสนอให้ศูนย์เมล็ดพันธุ์ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ให้เพียงพอ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  1. เหตุผลสำคัญของการประเมิน   เป็นการประเมินกระบวนการแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ของโครงการยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง เพื่อเป็นการฝึกทักษะการเรียนรู้ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส.ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้ ซึ่งจากการศึกษาบริบทของโครงการ เป็นดังนี้ ชื่อโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง เลขที่ข้อตกลง 59-ข-029 ชุดโครงการแผนงานโซนใต้กลาง ผู้รับผิดชอบโครงการ ดร.เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์ คณะทำงาน 3 คนคือ นายเสณี จ่าวิสูตร, นางนทกาญจน์ อัพภาสกิจ, นายอำมร สุขวิน
    ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มิถุนายน 2559 - 30 มิถุนายน 2560 งบประมาณโครงการ 400,000.00 บาท จำนวนกลุ่มเป้าหมายคือชาวนา ผู้นำชุมชน องค์กรรัฐ รวม 40 คน พื้นที่ดำเนินการจังหวัดพัทลุง มีกิจกรรมสำคัญ 7 กิจกรรม คือ 1).การประชุมคณะทำงาน 2).การจัดทำ Mapping สถานการณ์ข้าว โรงสีข้าว ตลาดข้าว 3).ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนเหนือ/กลาง/และเวทีรวม 4).จัดนิทรรศการร่วมกับงานสร้างสุข ในประเด็นการจัดการข้าวอินทรีย์แบบครบวงจร 5).กระบวนการผลักดันเข้าสู่ระดับยุทธศาสตร์จังหวัดพัทลุง 6).การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติ และ 7). การบริหารจัดการข้อมูล โดยที่โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ได้กำหนดประเด็นขับเคลื่อนไว้ 5 ประเด็นยุทธศาสตร์คือ
    1) ประเด็นการวิจัยและพัฒนาพันธ์ข้าวพื้นเมืองคุณภาพ ภายใต้กลยุทธการปฏิรูปเทคโนโลยีการเกษตรอินทรีย์ด้วยการผสานภูมปัญญาและการวิจัย ซึ่งกำหนดให้มีโครงการวิจัยและพัฒนาข้าวอินทรีย์ โครงการวิจัยสร้างคุณค่าจากข้าวอินทรีย์ เพื่อให้จังหวัดพัทลุงมีเทคโนโลยีทางการเกษตร ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ องค์ความรู้และสารสนเทศที่รองรับผลผลิต ผลิตภัณฑ์และการตลาดข้าวอินทรีย์
    2) ประเด็นการบริหารจัดการดิน น้ำ สำหรับข้าวอินทรีย์ ภายใต้กลยุทธการปรับดิน จัดการน้ำรองรับการเกษตรอินทรีย์ ที่มี โครงการฟื้นฟูปรับปรุงคุณภาพดินน้ำเพื่อใช้ของในการเกษตรอินทรีย์ ที่ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ เพื่อจัดสภาพแวดล้อมทางการเกษตรข้าวอินทรีย์ให้โดดเด่นด้านการรักษาสภาพแวดล้อมและการมีความสมบูรณ์ของดิน น้ำ
    3) ประเด็นการบริหารจัดการมาตรฐานข้าวอินทรีย์ ภายใต้กลยุทธการสร้างระบบการจัดการพันธุ์ข้าวแบบพึ่งตนเองที่ยั่งยืน โครงการผลิตข้าวพันธุ์ดี และโครงการเมล็ดพันธุ์ชุมชน กลยุทธการต่อยอดข้าวท้องถิ่นสู้มาตรฐานข้าวอินทรีย์ ที่มีโครงการพัฒนาพันธุ์ข้าวท้องถิ่น เพื่อการบริหารจัดการการผลิตข้าวอินทรีย์พัทลุง มีมาตรฐานการเกษตรอินทรีย์ระดับสากล ผลผลิตข้าวมีคุณภาพสูง สามารถแข่งขันได้ในตลาดข้าวคุณภาพเพื่อสุขภาพในประเทศ และต่างประเทศ และกลยุทธส่งเสริมการจัดการข้าวอินทรีย์สู่มาตรฐานสากล โครงการเกษตรอินทรีย์ครบวงจร เพื่อเกษตรกรผู้ปลูกข้าวอินทรีย์ เป็นเกษตรกรมืออาชีพ มีศักยภาพสูง รวมกลุ่มเป็นแปลงใหญ่ และกลุ่มผู้ผลิตข้าวอย่างเข้มแข็ง สามารถจัดการผลผลิตให้มีปริมาณและคุณภาพได้มาตรฐานสากล 4) ประเด็นการพัฒนาระบบห่วงโซ่การผลิตข้าวอินทรีย์ ภายใต้กลยุทธการสร้างวิถีชีวิตข้าวอินทรีย์ในพื้นที่ให้เข้มแข็ง โครงการหมู่บ้านนาอินทรีย์วิถีเมืองลุง เพื่อให้พันธุ์ข้าวอินทรีย์ ผลผลิตข้าวอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ สามารถสร้างคุณค่า มูลค่าเพิ่มเชิงบูรณาการแก่ชุมชน สร้างความภาคภูมิใจในผลิตผล และผลิตภัณฑ์แก่ประชาชน สร้างโอกาสสร้างรายได้แก่ชุมชน
    5)ประเด็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มชาวนาอินทรีย์ ภายใต้กลยุทธการพัฒนาคุณค่า มูลค่าข้าวอินทรีย์สู้รายได้ที่มั่นคง โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวสังข์หยดอินทรีย์ สู่ผลิภัณฑ์คุณภาพ เพื่อให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนข้าวอินทรีย์มีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองได้ เติบโตอย่างต่อเนื่อง เกิดเครือข่ายการผลิต การแปรรูป และจัดจำหน่ายข้าวอินทรีย์ที่มีความเข้มแข็งครบวงจร กลยุทธเพิ่มบุคลากรการเกษตรข้าวอินทรีย์ โครงการ SMART Farmer เพื่อให้เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความรัก ความภูมิใจในอาชีพและวิถีเกษตรอินทรีย์ กลยุทธบูรณาการแปลงข้าวสู่การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และการเรียนรู้ โครงการเที่ยวนาข้าวเมืองลุง เพื่อให้พัทลุงเป็นแหล่งเรียนรู้ แหล่งผลิต พัฒนาเกษตรกรข้าวอินทรีย์ พัฒนาคุณภาพบุคลากรในห่วงโซ่ระบบการผลิตทุกระดับของจังหวัด ให้มีขีดความสามารถ มีศักยภาพเท่าทันการเปลี่ยนแปลงที่แข่งขันได้

  2. วัตถุประสงค์การประเมิน เพื่อประเมินผลการแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงาน องค์กร เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อประเมินผลที่เกิดขึ้นจากโครงการ และเพื่อประเมินปัญหาอุปสรรคที่หน่วยงาน องค์กร เครือข่ายที่เกี่ยวข้องไม่สามารถแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติได้

  3. ขอบเขตการประเมิน มุ้งเน้นการประเมินภาพรวมการดำเนินการโดยประยุกต์ใช้ตัวแบบการประเมินของ Stufflebean และคณะ (cipp model) ครอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี้
    3.1 การบรรลุวัตถุประสงค์โครงการ 3.2 ผลกระทบทั้งทางบวก ทางลบ และผลกระทบที่ไม่ได้คาดหวัง 3.3 บทเรียน ปัญหา ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ

  4. นิยามศัพท์เฉพาะ
    4.1 ข้าวอินทรีย์พัทลุงคุณภาพสูงมาตรฐานสากล หมายถึง ข้าวที่ผ่านกระบวนการผลิตตามมาตรฐานการเกษตรอินทรีย์ระดับสากล ผลผลิตข้าวมีคุณภาพสูง สามารถแข่งขันได้ในตลาดข้าวคุณภาพเพื่อสุขภาพในประเทศ และต่างประเทศ และเป็นข้าวพื้นเมืองที่มีดัชนีบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
    4.2สร้างคุณภาพชีวิตคน หมายถึง เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความรัก ความภูมิใจในอาชีพและวิถีเกษตรอินทรีย์ คนพัทลุงรับประทานข้าวพื้นเมือง ความมั่นคงทางอาหารของเกษตรกรเพิ่มขึ้น สามารถพึ่งตนเองทางอาหารได้มากขึ้น เพียงพอต่อความต้องการของจังหวัด 4.3 สร้างอาชีพเกษตรกร หมายถึง ผลผลิตข้าวอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ สามารถสร้างคุณค่า มูลค่าเพิ่มเชิงบูรณาการแก่ชุมชน สร้างความภาคภูมิใจในผลิตผล และผลิตภัณฑ์แก่ประชาชน สร้างโอกาสสร้างรายได้แก่ชุมชน เกษตรกร ประชาชนในชุมชนมีอาชีพและมีรายได้จาการจำหน่ายผลผลิต และผลิตภัณฑ์จากข้าวอินทรีย์ ที่สามารถสร้างรายได้แก่ชุมชน จังหวัด ที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง 4.4 สร้างรายได้ชุมชน หมายถึง มีวิสาหกิจชุมชนข้าวอินทรีย์ที่มีความสามารถในการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน หรือองค์กรผู้ประกอบการายย่อย ที่มีมาตรฐานของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม มีความสามารถในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง จนทำให้สมาชิกผู้ประกอบการมีรายได้จากการดำเนินงาน มีการบริหารจัดการด้วยธรรมาภิบาล มีการจ้างงานเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนและผู้ประกอบการรายย่อยจากผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ 4.5 สร้างสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน หมายถึง สภาพแวดล้อมทางการเกษตรข้าวอินทรีย์ของจังหวัดโดเด่นด้านการรักษาสิ่งแวดล้อมและการมีความสมบูรณ์ของดิน น้ำ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินการนำแผนงานยุทธศาสตร์พันาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ.2561-2564 ไปสู่การปฏิบัติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน1
  2. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2
  3. สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัพัทลุง (ดร.เชิดศักดิ์)
  4. เก็บข้อมูล สัมภาษณ์เป็นรายบุคคล
  5. เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล
  6. เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล
  7. ประชุมนักประเมินโครงการ
  8. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3
  9. เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผลลัพธ์การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ.2561-2564 ไปสู่แผนงาน โครงการ กิจกรรม ของหน่วยงาน
  2. มีกลไกใดบ้างที่ช่วยสนับสนุน
  3. เกิดผลกระทบจากโครงการ
  4. ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัพัทลุง (ดร.เชิดศักดิ์)

วันที่ 24 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนกระบวนการ ตามแผน     สัมภาษณ์  คณะทำงาน ผู้รับผิดชอบ และผู้ที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต -มีผู้เข้าร่วม 5  คน  คือ  ดร.เชิดศักดิ์  เกื้อรักษ์ ฝ่ายวิชาการมหาวิทยาลัยทักษิณ  นักศึกษาคณะทำงานเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล 2 คน ทีมประเมิน 2 คน คือ นายถาวร และนายสมนึก -กระบวนการพูดคุยสัมภาษณ์ ผู้รับผิดชอบ ถึงการดำเนินการโครงการให้ได้มาซึ่งแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง  กิจกรรมที่สำคัญในการขับเคลื่อน ผลลัพธ์ -ได้เห็นกระบวนการทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง จากการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายภาคส่วนอย่างมีส่วนร่วม ในการเก็บข้อมูล  การแชร์ข้อมูล ของหน่วยงาน จนนำมาสู่การจัดทำร่างแผน - ได้ข้อมูลการประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง -  ได้หนังสือการแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับดูแลและติดตาม และคณะทำงานส่งเสริมการขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนจังหวัดพัทลุง โดยผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง นายกู้เกียรติ  วงศ์กระพันธุ์ -  ได้เอกสารคู่มือระบบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม PGS  จังหวัดพัทลุง "เกษตรอินทรีย์วิถีเมืองลุง"

 

10 0

2. เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการ

วันที่ 24 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ผู้ร่วมให้สัมภาษณ์  1  คน นายอำมร  สุขวิน กระบวนการ  สัมภาษณ์เชิงลึกในการร่วมขับเคลื่อน กระบวนการให้ได้มาซึ่งแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลิต
-นายอำมร  สุขวิน  เป็นผู้ให้สัมภาษณ์ ถึงการเป็นคณะทำงานและรับผิดชอบโครงการ มีความคาดหวังในการอยากให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการทำร่างแผนยุทธศาสตร์พัฒนาข้าวอินทรีย์จัวหวัดพัทลุง
ผลลัพธ์   - ได้เห็นกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่องของ นายอำมร  สุขวิน ผู้รับผิดชอบโครงการ  ได้ดำเนินการทำงานวิจัย กับ สกว.มาก่อนในเรื่องการพัฒนาข้าวอินทรีย์  ได้นำผลลัพธ์จากงานวิจัย  จาก สกว.มาต่อยอดสู่การขับเคลื่อนเชิงนโยบาย เรื่อง นาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง และจะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้ทำนาให้มีทางเลือกและเป็นโอกาสในการต่อยอด ขยายผลไปสู่กิจกรรมอื่น จากการทำข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

 

2 0

3. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

วันที่ 24 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะผู้ประเมินเข้าร่วมประชุม 3  คน วิธีการดำเนินการ -ศึกษาและวิเคราะห์การเก็บข้อมูลในส่วนของหน่วยงานผู้เกี่ยวข้องกับการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ว่าเกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์อย่างไร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลิต -คณะทำงานติดตามประเมิน 3  คนได้สรุปสาระสำคัญเป็นกรอบในการเป็นคำถามในการเก็บข้อมูลเพื่อการประเมินโครงการ ผลลัพธ์ -คณะทำงานสรุปกรอบที่ใช้เก็บข้อมูลนำไปประเมิน  คือ กรอบยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง  โครงการ กิจกรรม  หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวนำแผนไปสู่การปฏิบัติ

 

3 0

4. ประชุมนักประเมินโครงการ

วันที่ 24 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

วิธีการ -เรียนรูัการนำเสนองานประเมินโครงการ  โดยการนำเสนอของแต่ละโครงการ เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เติมเต็มโดยอาจารย์แนะนำพี่เลี้ยง -การลงรายงานผ่านเวบ https://mehealthpromotion.com/project/214 ให้ทันเวลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต   นักประเมินโครงการได้เรียนรูัการนำเสนองานประเมินโครงการและการลงรายงานผ่านเว็บ

ผลลัพธ์ -นักประเมินโครงการได้ปรับเปลี่ยนกรอบการประเมินใหม่ โดยใช้  CIPP MODEL และได้บันทึกรายงานผ่านเว็ปฯจนครบถ้วน

 

2 0

5. ประชุมคณะทำงาน1

วันที่ 24 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานการติดตาม และประเมินผลโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
ผู้เข้าร่วมประชุม 3 คน  นายสมนึก  นุ่นด้วง  นายถาวร  คงศรี    นายเสงียม  ศรีทวี รายละเอียดการประชุม
  -เตรียม ออกแบบ  เลือกกรอบการประเมินโครง ออกแบบการจัดเก็บข้อมูล  กระบวนการที่ดำเนินการ  จัดทำปฎิทินการดำเนินงานการประเมิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต  ได้กรอบแนวทางในการติดตามประเมิน การติดตาม และประเมินผลโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง วัตถุประสงค์ของการประเมินเพื่อประเมินการนำยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฏิบัติ กรอบการประเมิน ใช้รูปแบบ CIPP Model เป็นเครื่องมือในการประเมิน ขอบเขตการประเมิน
  - ขอบเขตเชิงพื้นที่  ดำเนินการประเมินในพื้นที่จังหวัดพัทลุง  ประกอบด้วย หน่วยงานระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ระดับท้องถิ่น ระดับเครือข่าย องค์กร   - ขอบเขตเชิงเนื้อหา ดำเนินการประเมินจากโครงการในประเด็นหลัก 4 ประเด็น คือ 1.กลไกที่ร่วมขับเคลื่อน การทำแผนงานโครงการข้าวอินทรีย์
          • หน่วยงาน           •ประเด็นทางยุทธศาสตร์ ที่สำคัญ         2.กระบวนการขับเคลื่อน การทำแผนงานโครงการข้าวอินทรีย์
          •แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ.2561 - 2565 3.ผลที่เกิดขึ้นจาการขับเคลื่อนการทำแผนงานโครงการข้าวอินทรีย์
          •มีจำนวนกี่หน่วยงาน กี่ท้องถิ่น กี่เครือข่าย/องค์กร กี่แผนงาน กี่โครงการ
4.ปัจจัยสำคัญที่มีผลกระทบต่อการขับเคลื่อนการทำแผนงานโครงการข้าวอินทรีย์

  - ขอบเขตเชิงระยะเวลา ดำเนินการประเมินระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562  ถึงวันที่ 31มีนาคม พ.ศ. 2562  จำนวน 3เดือน   - วิธีการดำเนินการ การติดตาม และประเมินผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงภายใต้โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง สนับสนุนโดย สถาบันจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. 4 ขั้นตอนหลัก คือ     1. บริบทของแผนยุทธศาสตร์ สาระสำคัญของแผน                   a. ประเด็นยุทธศาสตร์                   b. แผนงาน
                  c. โครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ข้าวจังหวัดพัทลุง
    2.        ปัจจัยนำเข้า มีใครเกี่ยวข้องในการแปลงแผนยุทศาสตร์ข้าวจังหวัดพัทลุงไปสู่การปฏิบัติ แผนงาน โครงการ
    3.        กระบวนการแปลงแผนยุทศาสตร์ข้าวจังหวัดพัทลุงไปสู่การปฏิบัติ แผนงาน โครงการ ได้อย่างไร มีกลไกใดบ้างที่ช่วยสนับสนุน โดยใช้แบบสอบถามการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้อง                 1. การดำเนินงานแต่ละขั้นตอน                       • คนหรือกลุ่มคน ที่เป็นตัวหลักหรือกลุ่มคนที่เป็นตัวยุทธศาสตร์                       • ข้อมูลหรือฐานข้อมูล                       • มีการปฏิบัติการตามหรือประยุกต์การทำงานจากแผนงานที่มีอยู่เดิมและเป็นแผนปฏิบัติการ                       • มีการใช้งบประมาณและแหล่งงบประมาณ                       • มีการใช้สถานที่ เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์อย่างไร                       • มีการใช้ทุนทางสังคมที่มีอยู่ในชุมชนมาหนุนเสริมการทำงานอย่างไร เช่นทุนทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิต  ภูมิปัญญา               2. การดำเนินงานได้ปฏิบัติตามแผนงานที่กำหนดหรือไม่  อย่างไร มีปัญหาอุปสรรคอะไร  มีแนวทางการปรับวิธีการทำงาน หรือปรับแผนอย่างไร               3. ได้ผลแต่ละขั้นตอนตรงตามที่วางแผนหรือไม่และควรจะต้องปรับวิธีการทำงานอย่างไร รวมถึงต้องการหนุนเสริมจากใคร  หน่วยงานใด  ในเรื่องใด  อย่างไร     4.      ชุดความรู้นวัตกรรมเชิงระบบการเปลี่ยนแปลงของ คน กลไก สภาพแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาวะ ผลลัพธ์   -คณะทำงานได้ข้อสรุปดำเนินการตามกรอบที่กำหนด  โดยการทำปฎิทินการดำเนินงาน

 

3 0

6. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

วันที่ 24 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

  1. ศึกษารายละเอียดการประเมินจากคู่มือการใช้โปรแกรม เพื่อสร้างความเข้าใจรายละเอียดในแต่ละขั้นตอน
  2. กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน โดยพิจารณาข้อมูลที่กำหนดไว้ในโปรแกรมแล้วเลือกใช้วัตถุประสงค์ที่ เหมาะสมกับบริบทของผู้ประเมิน ระยะเวลา และงบประมาณ ในการประเมิน
  3. กำหนดประเด็นประเมิน โดยพิจารณาข้อมูลที่กำหนดไว้ในโปรแกรมแล้วเลือกประเด็นที่เหมาะสม  เพื่อให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การประเมิน
  4. พัฒนาเครื่องมือประเมิน คือ แบบสัมภาษณ์
  5. กำหนดประชากรกลุ่มตัวอย่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต -คณะทำงานทั้ง 3 คน ประชุมตามแผนงานและได้ข้อสรุป
ผลลัพธ์ -แบ่งบทบาทหน้าที่ ในการลงสัมภาษณ์เชิงลึก บุคคล  หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง

 

3 0

7. เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล

วันที่ 24 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

การดำเนินการ ผู้เข้าร่วม 6  คน 1. เลขาประธานสภาเกษตรกรรับผิดชอบแผนงานและนโยบาย 1 คน 2. หัวน้างานส่งเสริมการเกษตร และหัวหน้ากลุ่มงานแผนและนโยบาย 2 คน 3. หัวหน้ากลุ่มงานแผนและนโยบาย และผู้ประสานงาน  สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด  2 คน 4. หัวหน้ากลุ่มงานแผนและนโยบาย  สำนักงานพาณิชย์จังหวัด 1 คน สัมภาษณ์เป็นรายบุคคล  จากผู้รับผิดชอบงานแผนและนโยบาย หรือเกี่ยวข้อง หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงาน องค์กร ณ สถานที่ปฏิบัติราชการของเจ้าหน้าที่  และสถานที่ดำเนินโครงการในพื้นที่  รวมทั้งการถ่ายภาพผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต -ทั้ง 4  หน่วยงาน ที่ถูกสัมภาษณ์ มีความรู้  เข้าใจ และมีส่วนร่วม  มีกิจกรรมในโครงการ ในแผนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ตามประเด็นยุทธศาสตร์เกี่ยวข้อง

ผลลัพธ์ - สภาเกษตรกร มีบทบาท เป็นกลไกหลัก ในการรวบรวมปัญหาความต้องการและกระจายไปสู่หน่วยงานที่มีภารกิจตรง รวมถึงประเด็นข้อเสนอเชิงนโยบายที่ก่อต้วมาจากสภาเกษตรกร - หัวน้างานส่งเสริมการเกษตร และหัวหน้ากลุ่มงานแผนและนโยบาย สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด  สำนักงานพาณิชย์จังหวัด  มีบทบาทสำคัญเมื่อได้รับการส่งมอบกระจายงานจากสภา เป็นหน่วยงานสนับสนุน จัดทำโครงการนำเสนอเพื่อขอโครงการจากส่วนกลางเพื่อตอบแผนยุทธศาสตร์ของชาติ ของจังหวัดพัทลุง เช่น โครงการหมู่บ้านนาอินทรีย์วิถีเมืองลุง  โครงการผลิตภัณฑ์ข้าวสังหยดอินทรีย์ สู่ผลิตภัณฑ์คุณภาพ โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่าช้าง  ผลิตภัณฑ์ ข้าวปิ้งสังข์หยดคั่วกลิ้ง

 

6 0

8. เก็บข้อมูล สัมภาษณ์เป็นรายบุคคล

วันที่ 24 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 4 คน 1. หัวหน้างานวิจัย ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง 1 คน 2. หัวหน้างานบริหารจัดการน้ำ สำนักงานโครงการชลประทานพัทลุง 1 คน 3. ผู้รับผิดชอบงานแผนและนโยบาย สถานีพัฒนาที่ดินพัทลุง 1 คน 4. นักวิจัย วิทยาลัยภูมิปัญญา มหาวิทยาลัยทักษิณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลิต

  1. หัวหน้วงานวิจัย ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง 1 คน
  2. หัวหน้างานบริหารจัดการน้ำ สำนักงานโครงการชลประทานพัทลุง 1 คน
  3. ผู้รับผิดชอบงานแผนและนโยบาย สถานีพัฒนาที่ดินพัทลุง 1 คน
  4. นักวิจัย วิทยาลัยภูมิปัญญา มหาวิทยาลัยทักษิณ

      สัมภาษณ์เป็นรายบุคคล จากผู้รับผิดชอบงานแผนและนโยบายตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง หรือเกี่ยวข้อง หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงาน องค์กร ณ สถานที่ปฏิบัติราชการของเจ้าหน้าที่ และสถานที่ดำเนินโครงการในพื้นที่ รวมทั้งการถ่ายภาพผลการดำเนินโครงการ

ผลลัพธ์

  1. ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง เป็นหน่วยงานอิสระทำงานขึ้นอยู่กับกรมการข้าว เป็นหน่วยงานสนับสนุน รอกลุ่มเกษตรกรที่มีความประสงค์ทำนาอินทรีย์แจ้งความต้องการเข้าร่วม ทางศูนย์วิจัยข้าวจะลงพื้นที่ไปตรวจรอบรองแปลง ด้วยเงือนไข ระยะปรับเปลี่ยน 3 ปี จะได้เป็นเกษตรกรทำนาอินทรีย์ ถ้าในกลุ่มคนใดคนหนึ่งตรวจแปลงไม่ผ่านจะทำให้กลุ่มเกษตรกรนาข้าวตกทั้งกลุ่ม และเมื่อผ่านจะได้มาตรฐาน  Organic Thailand
  2. สำนักงานโครงการชลประทานพัทลุง  เป็นหน่วยงานสนับสนุนเมื่อกลุ่มองค์กรผู้ใช้น้ำหรือ กลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น้ำแจ้งความประสงค์ใช้น้ำ ทั้งในและนอกเขต ชลประทานก็จะไปตรวจค่าของน้ำและบริหารจัดการน้ำให้กลุ่มดังกล่าว
  3. สถานีพัฒนาที่ดินพัทลุง เป็นหน่วยงานสนับสนุนเมื่อเกษตรกรเป็นกลุ่มหรือรายย่อยแจ้งความประสงค์ตรวจดิน เช่นโครงการเกษตรแปลงใหญ่ ทางสถานีพัฒนาที่ดินจะไปตรวจดินให้เกษตรกร
  4. นักวิจัย วิทยาลัยภูมิปัญญา มหาวิทยาลัยทักษิณ นอกจากเป็นหน่วยงานทางวิชาการแลัวยังเป็นหน่วยงานสนับสนุนและยังเป็นพี่เลี้ยงช่วยเหลือพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑข้าวอินทรีย์ไปสู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆสู่อุตสาหกรรมพัฒนาต่อยอดข้าวข้าวสังข์หยดพัทลุง ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากสหภาพยุโรป เป็นสินค้าบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย(GI) ปลูกได้เฉพาะพัทลุงเท่านั้น เป็นผลิตภัณฑ์ ข้าวปิ้งสังข์หยดคั่วกลิ้ง

 

4 0

9. เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล

วันที่ 24 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 4 คน ประธานกลุ่มกลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่าช้างฟื้นฟูเศรษฐกิจ 1คน (ผู้ผลิต) ประธานกลุ่มข้าวอินทรีย์วิถีพนางตุง 1 คน (ผู้แปรรูป) ประธานชมรมผู้ประกอบการโรงแรมจังหวัดพัทลุง  1 คน (ผู้บริโภค) นายเสณี  จ่าวิสูตร  ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน

วิธีการดำเนินการ สัมภาษณ์เป็นรายบุคคล  จากผู้รับผิดชอบงานแผนและนโยบาย หรือเกี่ยวข้อง หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงาน องค์กร ณ สถานที่ปฏิบัติงาน  และสถานที่ดำเนินโครงการในพื้นที่  รวมทั้งการถ่ายภาพผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต

-ประธานกลุ่มกลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่าช้างฟื้นฟูเศรษฐกิจ 1คน (ผู้ผลิต) กลุ่มนาอินทรีย์มีการแข่งขันกันเอง ต้องมีทักษะในการบริหารจัดการถึงจะอยู่ได้ หน่วยงานรัฐต้องเข้ามาช่วยเหลือ ด้าน เงินทุน  การรับซื้อ  โกดังเก็บ -ประธานกลุ่มข้าวอินทรีย์วิถีพนางตุง 1 คน (ผู้แปรรูป) ปัจจุบันมีหน่วยงานหรือองค์กรสนับสนุนจำนวนมาก ถ้ากลุ่มของเราเข้มแข็ง รักษามาตรฐานการทำงานของกลุ่ม และมีการบริหารจัดการกลุ่มได้ดี  เช่น ทางกลุ่มได้นำกิจกรรมเชื่อมกับการท่องเที่ยวชุมชน ได้รับการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ ทางอุตสาหกรรมพัฒนาต่อยอดข้าวข้าวสังข์หยดพัทลุง ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากสหภาพยุโรป เป็นสินค้าบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย(GI)  ปลูกได้เฉพาะพัทลุงเท่านั้น เป็นผลิตภัณฑ์ ข้าวปิ้งสังข์หยดคั่วกลิ้ง -ประธานชมรมผู้ประกอบการโรงแรมจังหวัดพัทลุง  1 คน (ผู้บริโภค) ให้ความเห็น  กิจกรรมของคนพัทลุงไม่นิยมทานข้าวอินทรีย์

ผลลัพธ์
      จากการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล  จากผู้รับผิดชอบงานแผนและนโยบาย หรือเกี่ยวข้อง หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงาน องค์กร ณ สถานที่ปฏิบัติงาน  และสถานที่ดำเนินโครงการในพื้นที่ พบข้อเสนอการแก้ไขให้กลุ่มเกษตรกรกลุ่มนาข้าวอินทรีย์เข้มแข็ง  คือ ให้กลุ่มองค์กรชาวนา จัดตั้ง สหกรณ์ชาวนาอินทรีย์พัทลุง  ที่มีกฎหมายรับรอง เพื่อทำหน้าที่ในการช่วยเหลือต่างๆจากภาครัฐ

 

3 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลผลิต
  คือ รูปธรรมการดำเนินตามแผนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์ที่เกิดขึ้นของหน่วยงานตามวัตถุประสงค์การประเมิน

วัตถุประสงค์ของการประเมิน
  เพื่อประเมินการนำยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฏิบัติ

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

  -มีการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์ พ.ศ 2561 – 2565 ตาม วิสัยทัศน์ ข้าวอินทรีย์พัทลุง คุณภาพสูงมาตรฐานสากล สร้างคุณภาพชีวิตคน สร้างอาชีพเกษตรกร สร้างรายได้ชุมชน สร้างสิ่งแวดล้อมที่ยังยืน พันธกิจ(Mission)  1 พัฒนาการบริหารจัดการการผลิตข้าวอินทรีย์ และเสริมสร้างศักยภาพของเกษตรกรกลุ่มเกษตรกรในการผลิตข้าวอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงให้มีคุณภาพ มาตรฐานสากล 2.พัฒนากลุ่มเกษตรกรให้เป็นวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการรายย่อยที่มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการและสร้างสรรค์คุณค่าของผลผลิตข้าวอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์จากข้าวอินทรีย์ที่สามารถแข่งขันได้ 3. ส่งเสริม สนับสนุน การเชื่อมโยงเครือข่ายห่วงโซ่อุปทานข้าวอินทรีย์ให้มีความเข้มแข็งและกรบวงจร เพื่อเพิ่มศักยภาพทางการแข่งขัน และการใช้ประโยชน์ร่วมกันของทรัพยากรและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน 4. ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดการความรู้และสารสนเทศข้าวอินทรีย์ การวิจัย สร้างองค์ความรู้และพัฒนาบุคลากรในห่วงโซ่อุปทานข้าวอินทรีย์ทุกระดับให้มีขีดความสามารถในการผลิต พัฒนาผลผลิต บริหารผลผลิตและการจัดการการตลาดที่ก่อให้เกิดคุณค่าและมูลค่า

  - เป้าประสงค์สูงสุดของแผนยุทธศาสตร์ 1. เพิ่มพื้นที่นาอินทรีย์ 27,000 ไร่ใน 5 ปีมีระบบการจัดการแบบครบวงจรตามมาตรฐานข้าวอินทรีย์ 2. ข้าวอินทรีย์พัทลุงเป็นข้าวที่มีเอกลักษณ์เฉพาะสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์(GI) ตลาดมีความเชื่อมั่นร้อยละ 70 และสามารถจำหน่ายได้ไม่ต่ำกว่ากิโลกรัมละ 100 บาท ผลลัพธ์ ข้อมูลจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่าช้าง ข้าวอินทรีย์ ราคาส่ง 120 บาท 3. มีโกดังเก็บข้าวทั้ง 3 โซน(โซนเหนือ โชนกลาง โซนใต้) และมีโกดังกลาง 1 โกดังเพื่อควบคุมมาตรฐาน และมีโรงสี GMP เพิ่มขึ้นโซนละ 3 แห่ง 4. มีหน่วยรับรองคุณภาพมาตรฐานเกษตรอินทรีย์พัทลุงที่จัดตั้งขั้นมาในรูปแบบประชารัฐที่มีธรรมาภิบาล

  - ประเด็นยุทธศาสตร์ 5 ประเด็น 1. การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวคุณภาพ 2. การบริหารจัดการดิน น้ำ สำหรับข้าวอินทรีย์ 3. การบริหารจัดการมาตรฐานข้าวอินทรีย์ 4. การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานข้าวอินทรีย์ 5. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มชาวนาอินทรีย์

  - เป้าประสงค์ของประเด็นยุทธศาสตร์ • ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย • กลยุทธ์ โครงการ • การเชื่อมโยงการแปลงยุทธศาสตร์สู่ปฏิบัติ • แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์


- ผลลัพธ์

  • เกิดการขับเคลื่อน การเชื่อมโยงสู่การแปลงยุทธศาสตร์สู่ปฏิบัติ แบบบูรณาการ โดยเห็นภาพรวมให้ระดับคะแนน 2 (คะแนน 1 ถึง 5 น้อย ไปมาก)
    -การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพในเชิงบูรณาการหน่วยงานทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม -สภาเกษตรกรเป็นกลไกหลักสำคัญรวบรวมเสนอความต้องการของกลุ่มเกษตรกรรายย่อยและกระจายไปสู่หน่วยงานที่มีภาระกิจหลักที่เกี่ยวข้อง เกษตรกรได้พัฒนาตรงความต้องการเพิ่มขึ้น โดยการรวบรวมข้อมูลเสนอเป็นโครงการ -หน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ พัฒนาที่ดิน ตรวจดินให้เกษตรกร ชลประทาน จัดการเรื่องน้ำในการทำการทำนา ในเขตและนอกเขตชลประทานและตรวจคุณภาพน้ำให้เกษตรกร พาณิชย์จังหวัดพัทลุง อุตสาหกรรมจังหวัดพัทลุง หน่วยงานสนับสนุนพัฒนาเกษตรกรต่อยอดผลิตภัณฑ์ ผลผลิต รวมทั้งช่องทางใหม่ๆ ให้เกษตรกรชาวนาเข้าถึง เช่น อุตสาหกรรมพัฒนาต่อยอดข้าวข้าวสังข์หยดพัทลุง ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากสหภาพยุโรป เป็นสินค้าบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย(GI) ปลูกได้เฉพาะพัทลุงเท่านั้น เป็นผลิตภัณฑ์ ข้าวปิ้งสังข์หยดคั่วกลิ้ง โดยกลุ่มย์วิจัยข้าวพัทลุง เป็นหน่วยงานผลิตเมล็ดและรองมาตรฐานมาตรฐาน Organic Thailand
    • เกิดผลลัพธ์ทั้ง 3 ระยะ จากการทำงานร่วมกันเกิดความการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและความสัมพันธ์ทั้งในระดับบุคคลและระดับองค์กร
    o ระยะต้นน้ำ ก่อตัวมีความรู้หน่วยงาน สภาเกษตรกรรวบรวมปัญหา ความต้องการ นำเสนอต่อหน่ายงานที่มีภารกิจหลักรับผิดชอบ พัฒนาที่ดิน ชลประทาน เกษตรจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัดพัทลุง พาณิชย์จังหวัดพัทลุง มหาวิทยาลัยทักษิณ ศูนย์วิจัยข้าว เป็นต้น o ระยะกลางน้ำ รวมกลุ่มพัฒนา สร้างผลผลิต หน่วยงานที่มีบทบาท คือ สภาเกษตรกร เกษตรจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัดพัทลุง พาณิชย์จังหวัดพัทลุง มหาวิทยาลัยทักษิณเป็นต้น o ระยะปลายน้ำ รวมกลุ่มสร้างเครือข่ายต่อยอดผลผลิต แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่จากข้าวอินทรีย์ สู่ สร้างกติกา มาตรฐาน หน่วยงาน สภาเกษตรกร เกษตรจังหวัด ศูนย์วิจัยข้าว พาณิชย์จังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด มหาวิทยาลัยทักษิณ โรงพยาบาล พัฒนาชุมชน

    o ผลกระทบ
    ผลกระทบสู่การขยายผลเชิงพื้นที่ • ขยายผลแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ แหล่งผลิตและพัฒนาเกษตรกรข้าวอินทรีย์คุณภาพ บุคคกรในห่วงโซ่อุปทานข้าวอินทรีย์ทุกระดับของจังหวัดมีขีดความสามารถ มีศักยภาพเท่าทันการเปลี่ยนแปลงที่แข่งขันได้เช่น o ศูนย์สาธิตวิสาหกิจชุมชนท่าช้างฟื้นฟูเศรษฐกิจ o วิชชาลัยรวงข้าว o โรงนาหลานย่าแดงและชมรมอุสาหกรรมเกษตรอินทรีย์แหลมทองปันแต o บ้านเรียนรู้เกษตรธรรมชาติบางแก้ว o ฯลฯ

ผลกระทบสู่การขยายผลเชิงนโยบาย • สภาเกษตรกร เป็นกลไกหลักรับเรื่องปัญหาความต้องการเกษตรรายย่อย ชงเรื่อง ติดตามงาน กระจายงานไปยังหน่วยงานภารกิจหลัก ภารกิจสนับสนุน ทำข้อเสนอเชิงนโยบายเสนอต่อหน่วยงานให้บรรจุในแผนระดับต่าง ๆ

ผลกระทบสู่การขยายผลเชิงประเด็น ด้านเศรษฐกิจ   • ตามยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานข้าวอินทรีย์   o โครงการหมู่บ้านนาอินทรีย์วิถีเมืองลุง มีหมู่บ้านนาอินทรีย์วิถีเมืองลุง 100 หมู่บ้าน หน่วยงานท้องถิ่น/อปท   • ตามยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มชาวนาอินทรีย์   o โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวพันธุ์พื้นเมืองอินทรีย์สู่ผลิตภัณฑ์คุณภาพ หน่วยงานเกษตรจังหวัด พาณิชย์จังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด   o โครงการ Smart Farmer หน่วยงาน เกษตรจังหวัด   o โครงการเที่ยวนาข้าวเมืองลุง หน่วยงาน อปท /ท้องถิ่น กิจกรรมสำคัญ ท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตวิถี ทุ่งชัยรอง หมู่ที่ 5 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

 ด้านสิ่งแวดล้อม   • ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริหารจัดการดิน น้ำ สำหรับข้าวอินทรีย์   o โครงการฟื้นฟูปรับปรุงคุณภาพดิน น้ำเพื่อใช้ในการเกษตรอินทรีย์ที่ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ หน่วยงาน ชลประทาน พัฒนาที่ดิน เกษตรจังหวัด   • ตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการมาตรฐานข้าวอินทรีย์   o โครงการข้าวพันธุ์ข้าวดี หน่วยงานศูนย์วิจัยข้าว   o โครงการพัฒนาข้าวพื้นเมือง หน่วยงานศูนย์วิจัยข้าว   o โครงการเกษตรอินทรีย์ครบวงจร เกษตรจังหวัด

   ด้านสังคม   • ตามยุทธศาสตร์ที่ 1 การวิจัยและพัฒนาข้าวพันธุ์พื้นเมืองคุณภาพ   o โครงการวิจัยและพัฒนาข้าวอินทรีย์ ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง   o โครงการวิจัยสร้างคุณค่ามูลค่าจากข้าวอินทรีย์ วิทยาลัยภูมิปัญญา มหาวิทยาลัยทักษิณ   • ตามยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มชาวนาอินทรีย์ เป็นการปรับสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการทำนาข้าวอินทรีย์ โดยการรื้อฟื้นวัฒนธรรมการทำนาแบบดังเดิมกลับมาใช้เพื่อ
  การแก้ปัญหาการทำนาในยุคปัจจุบัน เช่น เรินข้าว นาวาน เกลอเขา เกลอเล การเลี้ยงวัว ควาย การเก็บเกี่ยวกับแกละ ข้าวใหม่ให้ผู้เฒ่า ผู้แก่   o โครงการ SMART Farmer หน่วยงาน เกษตรจังหวัด   o ท่องเที่ยวนาเมืองลุง พัฒนาการจังหวัด ท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตวิถี วิชชาลัยรวงข้าว วิสาหกิจชุมชนท่าช้าง

   ด้านสุขภาพ ผลกระทบสู่การขยายผลเชิงเครือข่าย   - ระดับเครือข่ายยังขาดเอกภาพในการจัดการ ตรามาตรฐาน อัตราการผลิต การกำหนดราคา
  - การรวมกลุ่ม ผลของการบริหารจัดการกลุ่มในเครือข่ายนาอินทรีย์รายย่อย ทำให้กลุ่มมีความเข้มแข็งทั้งด้านการผลิต การแปรรูป และด้านการตลาด โดยผ่านช่องทางสื่อสารที่ทันสมัย นับวันกลุ่มลูกค้าสั่งชื้อทางออนไลน์เพิ่มมากขึ้น ตัวอย่าง กลุ่มศูนย์สาธิตวิสาหกิจชุมชนบ้านท่าช้างฟื้นเศรษฐกิจ มีเทคนิคในการบริหารสมาชิกในกลุ่มเพื่อลดการแข่งขันกันเอง โดยการแบ่งโซนการผลิต แบ่งพันธุ์การปลูก ตลอดการประสานโรงสี รวมทั้งประสานแหล่งทุน

o ปัจจัยความสำเร็จ    กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนขยายผลสู่วงกว้าง ครอบคลุมผู้บริโภคทุกระดับ เริ่มจากกระบวนการสร้างจิตสำนึกที่ดี อย่างง่าย ค่อยเป็นค่อยไป ทำควบคู่ไปทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค สู่การประสานมือและใจร่วมกันระหว่างคนปลูกข้าวกับคนกินข้าว    การรวมกลุ่มและทำงานเป็นเครือข่าย

o ปัญหาอุปสรรค    เงื่อนไขเปลี่ยนผ่าน 3 ปี ที่การขาดการเสริมพลัง เสนอให้มีทางเลือกเพิ่ม    ภารกิจหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐเป็นอุปสรรค์ต่อการทำงานร่วม มองไม่เห็นสำคัญ ไม่เป็นตัวชี้วัดขององค์กร เกิดช่องว่างระหว่างหน่วยงานรัฐกับเกษตรกร    เกษตรอินทรีย์มีหลายมาตรฐาน   • มาตรฐานรับรองโดยศูนย์วิจัยข้าว Organic Thailand   • มาตรฐานรับรองโดยสำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง IFOAM   • มาตรฐานรับรองจากกลุ่มองค์กรชาวนา Participatory Guarantee Systems – PGS ยังไม่มีผู้รับรองระดับจังหวัด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินการนำแผนงานยุทธศาสตร์พันาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ.2561-2564 ไปสู่การปฏิบัติ
ตัวชี้วัด : ผลวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่แผนงาน โครงการ กิจกรรม ได้อย่างไร มีกลไกใดบ้างที่ช่วยสนับสนุน ผลกระทบจากโครงการ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ โดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) และการวิเคราะห์เชิงเหตุและผล (Cause and effect analysis) ด้วยรูปแบบการพรรณนาความ
0.00 0.00

แผนงานโครงการของหน่วยงาน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน -
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินการนำแผนงานยุทธศาสตร์พันาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง พ.ศ.2561-2564 ไปสู่การปฏิบัติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน1 (2) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (3) สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัพัทลุง (ดร.เชิดศักดิ์) (4) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (5) เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการ (6) เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล (7) เก็บข้อมูล สัมภาษณ์เป็นรายบุคคล (8) เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล (9) ประชุมนักประเมินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่
   กลุ่มองค์กรชาวนา ควรจัดตั้ง สหกรณ์ชาวนาอินทรีย์พัทลุง ที่มีกฎหมายรับรอง เพื่อทำหน้าที่ในการช่วยเหลือต่างๆจากภาครัฐ เช่น ทำหน้าที่ในการควบคุมดูแลมาตรฐานอินทรีย์ต่างๆ ที่ยังไม่มีผู้ดูแลในการตรวจรับรอง โดย ใช้ระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม (Participatory Guarantee Systems – PGS) แบ่งประเภทชาวนาให้ชัดเชน เช่น กลุ่มชาวนาที่ผลิตเพื่อการบริโภคในครัวเรือน เพื่อการค้า ผลิตเชิงอุตสาหกรรม กลุ่มชาวนาทางเลือก กลุ่มชาวนาพื้นที่ปลูกขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ เป็นต้น    เสนอให้ศูนย์เมล็ดพันธุ์ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ให้เพียงพอ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การประเมินผลโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส.ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้

รหัสโครงการ ข้อตกลง ระยะเวลาโครงการ 1 พฤศจิกายน 2018 - 31 ธันวาคม 2018

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง โดย มีใช้กลไกของ สภาเกษตรกรเป็นตัวเชื่อมคน เชื่อมหน่วยงาน เชื่อมกิจกรรม (บูรณาการ)

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์ จัวหวัดพัทลุง พ.ศ.2562 - 2566

พัฒนาศักยภาพองค์กรสภาเกษตรกรให้เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ทั้งระบบจังหวัดพัทลุง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

จากประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มชาวนาอินทรีย์ กิจกรรม โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวพันธุ์พื้นเมืองอินทรีย์สู่ผลิตภัณฑ์คุณภาพ มีหน่วยงานเกษตรจังหวัด พาณิชย์จังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด พัฒนาต่อยอดข้าวข้าวสังข์หยดพัทลุง ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากสหภาพยุโรป เป็นสินค้าบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย(GI) ปลูกได้เฉพาะพัทลุงเท่านั้น เป็นผลิตภัณฑ์ ข้าวปิ้งสังข์หยดคั่วกลิ้ง โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่าช้าง

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์ จัวหวัดพัทลุง พ.ศ.2562 - 2566

ต่อยอดขยายผลแหล่งเรียนรู้/กลุ่มต้นแบบ แปรรูปจากข้าวอินทรีย์และผลิตภัณฑ์เวชสำอางที่มาจากข้าวอินทรีย์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

• ตามยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มชาวนาอินทรีย์  เชื่อมกับหน่วยงาน เกษตรจังหวัด สำนักงานการท่องเที่ยว วิทยาลัยภูมิปัญญา อื่น ๆ ในโครงการท่องเที่ยวนาข้าวเมืองลุง โครงท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตวิถี ตัวอย่างหมู่บ้านที่ประสบความสำเร็จ วิชชาลัยรวงข้าว  ท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตวิถี  ทุ่งชัยรอง หมู่ที่ 5 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์ จัวหวัดพัทลุง พ.ศ.2562 - 2566

ขยายผลยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มชาวนาอินทรีย์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ขั้นตอนในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวอินทรีย์พัทลุง

แผนยุทธสาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ปี 2561-2561

มาตรฐานรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม จังหวัดพัทลุง Phattalung Organic - PGS

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

การร้อฟื้นวัฒนธรรมการทำนาแบบดังเดิมกลับมาเพื่อแก้ปัญหาการทำนาในยุคปัจจุบัน

แผนยุทธสาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ปี 2561-2561

เชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงเกษตร/เชิงวัฒนธรรม เพื่อสร้างมูลค่า และคุณค่า

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

•ตามยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานข้าวอินทรีย์ โครงการหมู่บ้านนาอินทรีย์วิถีเมืองลุง มีหมู่บ้านนาอินทรีย์วิถีเมืองลุง 100 หมู่บ้าน หน่วยงานท้องถิ่น/อปท

•ตามยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มชาวนาอินทรีย์ โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวพันธุ์พื้นเมืองอินทรีย์สู่ผลิตภัณฑ์คุณภาพ หน่วยงานเกษตรจังหวัด พาณิชย์จังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด   โครงการ Smart Farmer หน่วยงาน เกษตรจังหวัด     โครงการเที่ยวนาข้าวเมืองลุง หน่วยงาน อปท /ท้องถิ่น กิจกรรมสำคัญ ท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตวิถี  ทุ่งชัยรอง หมู่ที่ 5 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ปี 2561-2561

เชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงเกษตร/เชิงวัฒนธรรม เพื่อสร้างมูลค่า และคุณค่า

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

• ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริหารจัดการดิน น้ำ สำหรับข้าวอินทรีย์

  o โครงการฟื้นฟูปรับปรุงคุณภาพดิน น้ำเพื่อใช้ในการเกษตรอินทรีย์ที่ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ หน่วยงาน ชลประทาน พัฒนาที่ดิน เกษตรจังหวัด

• ตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการมาตรฐานข้าวอินทรีย์

    o โครงการข้าวพันธุ์ข้าวดี หน่วยงานศูนย์วิจัยข้าว

    o โครงการพัฒนาข้าวพื้นเมือง หน่วยงานศูนย์วิจัยข้าว

    o โครงการเกษตรอินทรีย์ครบวงจร เกษตรจังหวัด

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ปี 2562-2566

มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม จังหวัดพัทลุง PGS (เกษตรอินทรีย์วิถีเมืองลุง)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

• ตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการมาตรฐานข้าวอินทรีย์   o โครงการข้าวพันธุ์ข้าวอินทรีย์คุณภาพ หน่วยงานศูนย์วิจัยข้าว ศูนย์เมล็ดพันธ์ เกษตรจังหวัด   o โครงการศูนย์เมล็ดพันธุ์ชุมชน หน่วยงานศูนย์เมล็ดพันธุ์ ศูนย์วิจัยข้าว เกษตรจังหวัด   o โครงการส่งเสริมและพัฒนาการที่ดีสำหรับโรงสีข้าว (GMP) หน่วยงาน ศูนย์วิจัยข้าว ม.ทักษิณ อุตสาหกรรมจังหวัด   o ศูนย์บริการเกษตรอินทรีย์ครบวงจร หน่วยงานเกษตรจังหวัด สภาเกษตรกร   o โครงการปรับเปลี่ยนนาเคมีสู่นาอินทรีย์ หน่วยงานเกษตรจังหวัด ศูนย์วิจัยข้าว ม.ทักษิณ   o โครงการพัฒนาข้าวพันธุ์พื้นเมือง หน่วยงานศูนย์วิจัยข้าว ศูนย์เมล็ดพันธุ์
  o โครงการเกษตรอินทรีย์ครบวงจร เกษตรจังหวัด   o โครงการพัฒนาระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม(PGS) ข้าวอินทรีย์พัทลุง ม.ทักษิณ กลุ่มเครือข่ายนาอินทรีย์พัทลุง กลุ่มเครือข่ายผู้บริโภค   o โครงการตรวจสอบย้อนกลับผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ หน่วยงาน ศคบ.พัทลุงสาธารณสุขฯ

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ปี 2562-2566

พัฒนาระบบการรับรองมาตรฐานแบบมีส่วนร่วม(PGS) พัทลุงให้เกิดขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

สภาเกษตรกรพัทลุงเป็นกลไกองค์กรที่เชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ปี 2562-2566

พัฒนาศักยภาพสภาเกษตรกรพัทลุงให้มีขีดความสามารถเน้นทำงานเชิงรุก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

• ตามยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มชาวนาอินทรีย์ เป็นการปรับสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการทำนาข้าวอินทรีย์ โดยการรื้อฟื้นวัฒนธรรมการทำนาแบบดังเดิมกลับมาใช้เพื่อการแก้ปัญหาการทำนาในยุคปัจจุบัน เช่น เรินข้าว นาวาน เกลอเขา เกลอเล  การเลี้ยงวัว ควาย การเก็บเกี่ยวกับแกละ ข้าวใหม่ให้ผู้เฒ่า ผู้แก่ o โครงการ SMART Farmer  หน่วยงาน เกษตรจังหวัด o ท่องเที่ยวนาเมืองลุง พัฒนาการจังหวัด ท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตวิถี วิชชาลัยรวงข้าว  วิสาหกิจชุมชนท่าช้าง

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ปี 2562-2566

ขยายผลการเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มชาวนาอินทรีย์   o โครงการสืบสานวัฒนธรรมและภูมิปัญญาชาวนาพัทลุง  หน่วยงานวัฒนธรรมจังหวัด  วิทยาลัยภูมิปัญญาชุมชน   oโครงการเที่ยวนาข้าวเมืองลุง หน่วยงาน อปท /ท้องถิ่น กิจกรรมสำคัญ ท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตวิถี  ทุ่งชัยรอง หมู่ที่ 5 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

การประเมินผลโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส.ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ ข้อตกลง

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมนึก นุ่นด้วง, นายถาวร คงศรี, นายเสงี่ยม ศรีทวี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด