แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา ”
อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายกำพล เศรษฐสุข , นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี , นายอะหมัด หลีขาหรี
ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา
ที่อยู่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการดำเนินโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพาในช่วงปี2560 ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) และสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มาเป็นระยะเวลาหนึ่งนั้น ดังนั้นเพื่อให้เห็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายใต้การดำเนินงานทั้งในด้านผลผลิต(Output) ผลลัพธ์(Outcome)และผลกระทบ(lmpact)จึงเป็นที่มาของการประเมินติดตามโครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรมโรงพยาบาลเทพา จังหวัดสงขลา ซึ่งใช้กรอบแนวคิดการประเมิน(CIPP Model) โดยมีกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย คณะกรรมการโครงการ ตัวแทนปราชญ์ชุมชนไทยพุทธ มุสลิม ผู้สูงอายุ พยาบาลวิชาชีพ และเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประเมินระดับความเหมาะสมของบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิตของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะผู้ประเมินโครงการ
- สร้างและพัฒนาเครื่องมือในการประเมิน
- ลงพื้นที่เก็บข้อมูล
- จัดทำรายงานผลการประเมิน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
คณะกรรมการดำเนินการโครงการ
3
ตัวแทนผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ
2
ตัวแทนผู้นับถือศาสนาพุทธ
2
ตัวแทนผู้นับถือศาสนาอิสลาม
2
ตัวแทนผู้รู้และปราชญ์ชุมชน
2
ตัวแทนพยาบาลวิชาชีพ
2
ตัวแทนเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรม
2
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ทราบระดับความเหมาะสมของบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิตของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะผู้ประเมินโครงการ
วันที่ 10 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะผู้ประเมินโครงการเพื่อกำหนดกรอบแนวทางในการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการประชุมคณะผู้ประเมินเพื่อดำเนินการประเมินผล โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
มีการกำหนดวัตถุประสงค์ กรอบการประเมิน ขอบเขตการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ และกำหนดการดำเนินงาน ดังนี้
1.วัตถุประสงค์การประเมิน
1.1 เพื่อประเมินสภาพแวดล้อม/บริบทของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
1.2 เพื่อประเมินปัจจัยนำเข้า ของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
1.3 เพื่อประเมินกระบวนการ ของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
1.4 เพื่อประเมินผลผลิต ของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
2.กรอบการประเมิน
ใช้กรอบการประเมินเชิงระบบ (CIPP Model)
3.ขอบเขตการประเมิน
3.1 ขอบเขตประชากร
ประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วย
คณะกรรมการทีมประคับประคองโรงพยาบาลเทพา จำนวน 25 คน
พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเทพา จำนวน 50 คน
เจ้าหน้าที่ทั่วไปโรงพยาบาลเทพา จำนวน 200 คน
ผู้รู้แต่ละพื้นที่ แบ่งเป็น วิถีพุทธ จำนวน 28 คน และวิถีมุสลิม จำนวน 28 คน
ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) จำนวน 60 คน
3.2 ขอบเขตเนื้อหา
3.2.1 ประเมินสภาพแวดล้อม/บริบท
- หลักการ
- วัตถุประสงค์ของโครงการ
- เป้าหมายของโครงการ
- การเตรียมการภายในโครงการ
3.2.2 ประเมินปัจจัยนำเข้า
- บุคลากรและผู้เข้าร่วมโครงการ
- วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้
- งบประมาณ
- การบริหารจัดการ
3.2.3 ประเมินกระบวนการ
- กิจกรรมการดำเนินงานตามโครงการ
- การนิเทศติดตาม
3.2.4 ประเมินผลผลิต
- ผลการดำเนินโครงการ
3.3 ขอบเขตพื้นที่ประเมิน
อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
3.4 ขอบเขตระยะเวลา
เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2561
3.5 งบประมาณในการประเมิน
20,000 บาท
4.เครื่องมือที่ใช้
4.1 แบบสอบถาม
4.2 การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)
3
0
2. สร้างและพัฒนาเครื่องมือในการประเมิน
วันที่ 15 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
พัฒนาเครื่องมือการประเมิน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีเครื่องมือการประเมินที่มีคุณภาพ
3
0
3. ลงพื้นที่เก็บข้อมูล
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี และนายอะหมัด หลีขาหรี ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินการโครงการพัฒนาระบบสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประครองในพื้นที่พหุวัฒนธรรม โรงพยาบาลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
โดยมีกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 15 คน ประกอบด้วย
- ตัวแทนผู้นับถือศาสนาพุทธจำนวน 2 คน
- ตัวแทนผู้นับถือศาสนาอิสลามจำนวน 2 คน
- ตัวแทนคณะกรรมการโครงการจำนวน 3 คน
- ตัวแทนพยาบาลวิชาชีพจำนวน 2 คน
- ตัวแทนผู้รู้จำนวน 2 คน
- ตัวแทนเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรมจำนวน 2 คน
- ตัวแทน care giver จำนวน 2 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการลงพื้นที่ติดตาม พบว่า การดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประครองในพื้นที่พหุวัฒนธรรม โรงพยาบาลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ คือ
เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขให้มีองค์ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายและมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม
เพื่อจัดรูปแบบการบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายในพหุวัฒนธรรมอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
โดยปัจจัยสำคัญที่ทำให้การดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ได้แก่
นโยบายของโรงพยาบาลมีความชัดเจน ผู้บริหารโรงพยาบาลมีวิสัยทัศน์ และอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานโครงการอย่างเต็มที่
ผู้รับผิดชอบโครงการมีภาวะความเป็นผู้นำสูง มีมนุษยสัมพันธ์ดี และมีการติดตามงานในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
ทีมงานและผู้เข้าร่วมโครงการมีความพร้อม และให้ความร่วมมือกับโครงการในทุกกิจกรรมเป็นอย่างดี
15
0
4. จัดทำรายงานผลการประเมิน
วันที่ 30 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดทำรายงานผลการประเมินโครงการในรูปแบบบทความ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บทความรายงานผลการติดตามและประเมินผลโครงการ
3
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อประเมินระดับความเหมาะสมของบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิตของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
15
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
-
วัยเรียน (6-12 ปี)
-
วัยรุ่น (13-15 ปี)
-
เยาวชน (15-20 ปี)
-
วัยทำงาน
-
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
-
ผู้หญิง
-
มุสลิม
-
พระภิกษุ
-
ชาติพันธุ์
-
ผู้ต้องขัง
-
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
-
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
-
แรงงานข้ามชาติ
-
อื่น ๆ
-
คณะกรรมการดำเนินการโครงการ
3
ตัวแทนผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ
2
ตัวแทนผู้นับถือศาสนาพุทธ
2
ตัวแทนผู้นับถือศาสนาอิสลาม
2
ตัวแทนผู้รู้และปราชญ์ชุมชน
2
ตัวแทนพยาบาลวิชาชีพ
2
ตัวแทนเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรม
2
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายกำพล เศรษฐสุข , นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี , นายอะหมัด หลีขาหรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา ”
อำเภอเทพา จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
นายกำพล เศรษฐสุข , นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี , นายอะหมัด หลีขาหรี
ชื่อโครงการ โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา
ที่อยู่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการดำเนินโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพาในช่วงปี2560 ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) และสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มาเป็นระยะเวลาหนึ่งนั้น ดังนั้นเพื่อให้เห็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายใต้การดำเนินงานทั้งในด้านผลผลิต(Output) ผลลัพธ์(Outcome)และผลกระทบ(lmpact)จึงเป็นที่มาของการประเมินติดตามโครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรมโรงพยาบาลเทพา จังหวัดสงขลา ซึ่งใช้กรอบแนวคิดการประเมิน(CIPP Model) โดยมีกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย คณะกรรมการโครงการ ตัวแทนปราชญ์ชุมชนไทยพุทธ มุสลิม ผู้สูงอายุ พยาบาลวิชาชีพ และเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประเมินระดับความเหมาะสมของบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิตของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะผู้ประเมินโครงการ
- สร้างและพัฒนาเครื่องมือในการประเมิน
- ลงพื้นที่เก็บข้อมูล
- จัดทำรายงานผลการประเมิน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | ||
วัยทำงาน | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
ผู้พิการ | ||
ผู้หญิง | ||
มุสลิม | ||
พระภิกษุ | ||
ชาติพันธุ์ | ||
ผู้ต้องขัง | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | ||
แรงงานข้ามชาติ | ||
อื่น ๆ | ||
คณะกรรมการดำเนินการโครงการ | 3 | |
ตัวแทนผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ | 2 | |
ตัวแทนผู้นับถือศาสนาพุทธ | 2 | |
ตัวแทนผู้นับถือศาสนาอิสลาม | 2 | |
ตัวแทนผู้รู้และปราชญ์ชุมชน | 2 | |
ตัวแทนพยาบาลวิชาชีพ | 2 | |
ตัวแทนเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรม | 2 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ทราบระดับความเหมาะสมของบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิตของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะผู้ประเมินโครงการ |
||
วันที่ 10 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำประชุมคณะผู้ประเมินโครงการเพื่อกำหนดกรอบแนวทางในการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประชุมคณะผู้ประเมินเพื่อดำเนินการประเมินผล โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา มีการกำหนดวัตถุประสงค์ กรอบการประเมิน ขอบเขตการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ และกำหนดการดำเนินงาน ดังนี้ 1.วัตถุประสงค์การประเมิน 1.1 เพื่อประเมินสภาพแวดล้อม/บริบทของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา 1.2 เพื่อประเมินปัจจัยนำเข้า ของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา 1.3 เพื่อประเมินกระบวนการ ของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา 1.4 เพื่อประเมินผลผลิต ของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา 2.กรอบการประเมิน ใช้กรอบการประเมินเชิงระบบ (CIPP Model) 3.ขอบเขตการประเมิน 3.1 ขอบเขตประชากร ประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วย
3.2 ขอบเขตเนื้อหา 3.2.1 ประเมินสภาพแวดล้อม/บริบท - หลักการ - วัตถุประสงค์ของโครงการ - เป้าหมายของโครงการ - การเตรียมการภายในโครงการ 3.2.2 ประเมินปัจจัยนำเข้า - บุคลากรและผู้เข้าร่วมโครงการ - วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ - งบประมาณ - การบริหารจัดการ 3.2.3 ประเมินกระบวนการ - กิจกรรมการดำเนินงานตามโครงการ - การนิเทศติดตาม 3.2.4 ประเมินผลผลิต - ผลการดำเนินโครงการ 3.3 ขอบเขตพื้นที่ประเมิน 3.4 ขอบเขตระยะเวลา เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2561 3.5 งบประมาณในการประเมิน 20,000 บาท 4.เครื่องมือที่ใช้ 4.1 แบบสอบถาม 4.2 การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)
|
3 | 0 |
2. สร้างและพัฒนาเครื่องมือในการประเมิน |
||
วันที่ 15 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำพัฒนาเครื่องมือการประเมิน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีเครื่องมือการประเมินที่มีคุณภาพ
|
3 | 0 |
3. ลงพื้นที่เก็บข้อมูล |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำนางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี และนายอะหมัด หลีขาหรี ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินการโครงการพัฒนาระบบสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประครองในพื้นที่พหุวัฒนธรรม โรงพยาบาลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
โดยมีกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 15 คน ประกอบด้วย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการลงพื้นที่ติดตาม พบว่า การดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประครองในพื้นที่พหุวัฒนธรรม โรงพยาบาลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
โดยปัจจัยสำคัญที่ทำให้การดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จ ได้แก่
|
15 | 0 |
4. จัดทำรายงานผลการประเมิน |
||
วันที่ 30 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำจัดทำรายงานผลการประเมินโครงการในรูปแบบบทความ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบทความรายงานผลการติดตามและประเมินผลโครงการ
|
3 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อประเมินระดับความเหมาะสมของบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิตของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ตัวชี้วัด : |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 15 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | - | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | - | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | - | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | - | ||
วัยทำงาน | - | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - | ||
คณะกรรมการดำเนินการโครงการ | 3 | ||
ตัวแทนผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ | 2 | ||
ตัวแทนผู้นับถือศาสนาพุทธ | 2 | ||
ตัวแทนผู้นับถือศาสนาอิสลาม | 2 | ||
ตัวแทนผู้รู้และปราชญ์ชุมชน | 2 | ||
ตัวแทนพยาบาลวิชาชีพ | 2 | ||
ตัวแทนเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรม | 2 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายกำพล เศรษฐสุข , นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี , นายอะหมัด หลีขาหรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......