ชื่อโครงการ/กิจกรรม | โครงการประเมินผล โครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรม รพ.เทพา จ.สงขลา |
ภายใต้โครงการ | แผนงานติดตามและประเมินผลโครงการ ภาคใต้ ปี62 |
รหัสโครงการ | |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
วันที่อนุมัติ | 1 พฤศจิกายน 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562 |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายกำพล เศรษฐสุข , นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี , นายอะหมัด หลีขาหรี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.7959765673609,100.91929070219 |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 พ.ย. 2561 | 28 ก.พ. 2562 | 1 พ.ย. 2561 | 28 ก.พ. 2562 | 15,000.00 | |
2 | 1 มี.ค. 2562 | 31 มี.ค. 2562 | 5,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 20,000.00 |
ข้อมูลในการดำเนินโครงการ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
สถานการณ์/หลักการและเหตุผล
จากการดำเนินโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพาในช่วงปี2560 ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) และสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มาเป็นระยะเวลาหนึ่งนั้น ดังนั้นเพื่อให้เห็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายใต้การดำเนินงานทั้งในด้านผลผลิต(Output) ผลลัพธ์(Outcome)และผลกระทบ(lmpact)จึงเป็นที่มาของการประเมินติดตามโครงการการแพทย์พหุวัฒนธรรมโรงพยาบาลเทพา จังหวัดสงขลา ซึ่งใช้กรอบแนวคิดการประเมิน(CIPP Model) โดยมีกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย คณะกรรมการโครงการ ตัวแทนปราชญ์ชุมชนไทยพุทธ มุสลิม ผู้สูงอายุ พยาบาลวิชาชีพ และเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรม
กรอบแนวคิด
กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก
การติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ใช้กรอบการประเมินเชิงระบบ (CIPP Model)
วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อประเมินระดับความเหมาะสมของบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิตของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
|
0.00 |
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 15 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | - | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | - | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | - | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | - | ||
วัยทำงาน | - | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - | ||
คณะกรรมการดำเนินการโครงการ | 3 | 0 | |
ตัวแทนผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ | 2 | 0 | |
ตัวแทนผู้นับถือศาสนาพุทธ | 2 | 0 | |
ตัวแทนผู้นับถือศาสนาอิสลาม | 2 | 0 | |
ตัวแทนผู้รู้และปราชญ์ชุมชน | 2 | 0 | |
ตัวแทนพยาบาลวิชาชีพ | 2 | 0 | |
ตัวแทนเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรม | 2 | 0 |
การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
10 ธ.ค. 61 | ประชุมคณะผู้ประเมินโครงการ | 5,150.00 | ✔ | 5,000.00 | ||
12 ธ.ค. 61 | สร้างและพัฒนาเครื่องมือในการประเมิน | 1,000.00 | ✔ | 4,000.00 | ||
20 ธ.ค. 61 | ลงพื้นที่เก็บข้อมูล | 10,000.00 | ✔ | 5,000.00 | ||
31 ธ.ค. 61 | จัดทำรายงานผลการประเมิน | 1,000.00 | ✔ | 6,000.00 | ||
รวม | 0 | 17,150.00 | 4 | 20,000.00 |
การติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ใช้กรอบการประเมินเชิงระบบ (CIPP Model)
ประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วย
- คณะกรรมการดำเนินการโครงการจำนวน 3 คน
- ตัวแทนผู้นับถือศาสนาพุทธจำนวน 2 คน
- ตัวแทนผู้นับถือศาสนาอิสลามจำนวน 2 คน
- ตัวแทนพยาบาลวิชาชีพจำนวน 2 คน
- ตัวแทนผู้รู้และปราชญ์ชุมชนจำนวน 2 คน
- ตัวแทนเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรมจำนวน 2 คน
- ตัวแทนผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 2 คน
- คณะกรรมการดำเนินการโครงการจำนวน 3 คน
ใช้กระบวนการสนทนากลุ่ม(Focus Group Discussion) และใช้แบบสอบถามร่วมกับการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารโครงการ การบันทึกภาคสนาม โดยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ทราบระดับความเหมาะสมของบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิตของโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
เอกสารประกอบโครงการ
ชื่อเอกสาร | ผู้ส่ง | ||
---|---|---|---|
1 | ไฟล์ข้อเสนอโครงการ ครั้งที่ 1 (.docx) | นายอะหมัด หลีขาหรี | |
2 | ไฟล์ข้อเสนอโครงการ ครั้งที่ 2 (.docx) | yaowalak |
โครงการเข้าสู่ระบบโดย M&E Health Promotion เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2561 12:19 น.