แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี ”
อ.หนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ผศ.ณชพงศ จันจุฬา, ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ, ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก
ชื่อโครงการ การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี
ที่อยู่ อ.หนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ ข้อตกลงป เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อ.หนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี
บทคัดย่อ
โครงการ " การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ อ.หนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ข้อตกลงป ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การประเมินครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด โดยประยุกต์กรอบแนวคิดการประเมิน “CIPP Model” ของ สตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) โดยมุ่งประเมิน 4 ส่วน โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ เพื่อประเมินโครงการโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ตามกรอบการประเมินต่อไปนี้ 1) เพื่อประเมินบริบทการดำเนินงานภายใต้การพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น 2) เพื่อประเมินโครงการที่เกิดจากการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล 3) เพื่อประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบของกลุ่มกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในการทำโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดภายหลังจากการเข้าร่วมโครงการ ซึ่งรายละเอียดของวิธีการดำเนินการประเมิน ดังต่อไปนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมกำหนดแนวทางการดำเนินการประเมินโครงการปัจจจัยเสี่ยง
- ลงพื้นที่สัมภาษณ์และเตรียมความพร้อมการประชุมตัวแทนกองทุน สปสช.ทั้ง 13 กองทุนในเขตอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
- ทบทวนความเข้าใจ เพื่อเตรียมกำหนดกรอบการประเมินผลโครงการปัจจัยเสี่ยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
- การร่วมสนทนากลุ่มกับทีมงานประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด
- ประชุมสรุปการติดตามประเมินผลโครงการปัจจัยเสี่ยงฯ หนองจิก ปัตตานี
- จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ทบทวนความเข้าใจ เพื่อเตรียมกำหนดกรอบการประเมินผลโครงการปัจจัยเสี่ยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
วันที่ 20 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- นัดหมายทีมงานสจรส.เพื่อสนทนาเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ และทบทวนความเข้าใจรายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย เพื่อนำมากำหนดกรอบการดำเนินงาน
- เดินทางจากม.อ.ปัตตานีไปยัง สจรส. เพื่อเข้าสัมภาษณ์ทีมงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
- สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการ ดร.ซอฟียะห์ นิมะ
- สัมภาษณ์ผู้ประสานงานโครงการ นางสาวสิริมนต์ ชีวะอิสระกุล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทางคณะผู้ประเมินได้รับทราบสถานการณ์โครงการปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ซึ่งหมายถึงกิจกรรมที่ทางสจรส.ได้จัดกิจกรรมอบรมและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพในพื้นที่ตำบลหนองจิก เพื่อให้สามารถเขียนโครงการของบประมาณดำเนินกิจกรรมเพื่อลดการติดสุรา ยาสูบ และยาเสพติด และการดำเนินงานประเด็นปัจจัยเสี่ยงภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลว่ามหน่ายงานใดเกี่ยวข้องบ้าง ใครเป็นผู้ประสานงานหลัก
2
0
2. ลงพื้นที่สัมภาษณ์และเตรียมความพร้อมการประชุมตัวแทนกองทุน สปสช.ทั้ง 13 กองทุนในเขตอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
วันที่ 22 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
สัมภาษณ์ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งเเวดล้อมเทศบาลตำบลหนองจิง ถึงขั้นตอนรายละเอียดการดำเนินงานเกี่ยวกับกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบล
เพื่อเตรียมความพร้อมของพื้นที่ 13 กองทุน ในเขตเทศบาลตำบลหนองจิก เพื่อเข้าร่วมประชุมสนทนากลุ่มในการประเมินขั้นตอนการทำงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้กลุ่มเป้าหมาย 13 กองทุน ที่ดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบล ในการร่วมทำการสนทนากลุ่ม (Focus Group) โดยผอ.ได้ชี้แจงรายละเอียดโครงสร้างของกลุ่มเป้าหมาย โครงการที่ได้เสนอมาภายหลังการอบรม และปัญหาอุปสรรคอย่างคร่าวๆ เพื่อให้ผู้ประเมินสามารถนำไปกำหนดกรอบการเก็บข้อมูลในครั้งถัดไป
รับทราบข้อมูลเบื้องต้นในการดำเนินงานเกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับกองทุน ในประเด็นปัจจัยเสี่ยงฯ ซึ่งมี 13 กองทุนในตำบลหนองจิก ส่วนใหญ่โครงการที่กองทุนขอมานั้นจะเน้นเรื่องของการลดบุหรี่ มากที่สุด รองลงมาคือยาเสพติด และสุรา เนื่องจากพื้นที่หนองจิกมีประชากรที่นับถือศาสนาอิสลามจึงไม่ค่อยมีผู้ติดสุรามากนัก
ภายหลังจากการสัมภาษณ์ คณะประเมินจึงได้นำข้อมูลมากำหนดเป็นแบบสอบถามและแบบสนทนากลุ่ม เพื่อเก็บข้อมูล โดยได้นัดหมายกับตัวแทนทั้ง 13 กองทุน ผ่านผ.อ.กองสธารณสุขทต.หนองจิกเป็นผู้ประสานงานและอำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรม
2
0
3. การร่วมสนทนากลุ่มกับทีมงานประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด
วันที่ 3 มกราคม 2562กิจกรรมที่ทำ
สนทนากลุ่มกับทีมงานประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รับทราบข้อมูลกลไกการดำเนินงาน
.....ในการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ นั้น ทางตัวแทนกองทุนได้บอกเล่าเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินงานของตนเองว่าเป็นอย่างไร ส่วนใหญ่จะเข้าใจในบทบาทของตนเองมากขึ้น รวมถึงได้แนวทางการดำเนินงานในการอนุมัติงบปะมาณแก่ชุมชน และเป็นที่ปรึกษาในการทำโครงกาทางด้านสุขภาพได้ดีมากขึ้น ในขณะที่การบันทึกข้อมูลนั้นช่วยให้เจ้าหน้าที่รายงานกิจกรรมได้ง่ายขึ้น แต่ก็ต้องอาศัยระยะเวลาในการทำความเข้าใจระบบการบันทึกข้อมูลมาก
...... ในการสนทนากลุ่มนั้น ผู้ให้ข้อมูลยังตอบคำถามการประเมินได้ไม่ตรงประเด็นมากนัก เนื่องจากโครงการเพิ่งจะดำเนินการ และอยู่ในช่วงที่กำลังปรับระบบการดำเนินงาน จึงสะท้อนเกี่ยวกับความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมกับทางสจรส.มากกว่าการสะท้อนผลการดำเนินงานของตนเอง
20
0
4. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รายงานฉบับสมบูรณ์มีความก้าวหน้าในส่วนของบทผลการประเมินด้วยข้อมูลเชิงปริมาณที่อยู่ในระดับดี ในขณะที่รูปเล่มส่วนที่ 1 2 3 ก็กำลังเขียนเนื้อหาลงไปตามแบบฟอร์มที่ทางคณะประเมินได้ออกแบบจากการปะชุมในครั้งก่อน ซึ่งคาดว่าตัวเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์จะแล้วเสร็จในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562
5
0
5. ประชุมสรุปการติดตามประเมินผลโครงการปัจจัยเสี่ยงฯ หนองจิก ปัตตานี
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
1) นัดหมายคณะผู้ประเมินเพื่อร่วมกันสรุปข้อมูลที่ได้จากการสนทนากลุ่ม
2) คณะผู้ประเมินร่วมกันออกแบบโครงร่างเล่มรายงาน
3) คณะผู้ประเมินทำการสรุปผลการเก็บข้อมูลจากการสนทนากลุ่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ผลการติดตามประเมิน เพื่อนำมาจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
......จากการประมวลผลจากแบบสอบถามเชิงปริมาณในประเด็นความพึงพอใจ พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมกับทางสจรส. มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ ดี ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงจากการเข้าร่วมอบรมนั้น พบว่าผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมประมา 2-3 ขั้นตอนจากการดำเนินงานภายหลังจากการอบรมและพัฒนาศักยภาพการดำเนินงาน โดยเนื้อหาเชิงคุณภาพนั้น ยังคงต้องมีการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมอีกครั้งจากพี่เลี้ยงโครงการ เนื่องจากข้อมูลยังไม่อิ่มตัว
..... หลังจากสรุปข้อมูลพบว่าข้อมูลการประเมินยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และอิ่มตัวมากนัก ทางคณะผู้ประเมินจึงได้วางแผนการซ่อมข้อมูล โดยการออกแบบการเก็บข้อมูลเชิงสำรวจเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานในแต่ละกองทุนผ่านพี่เลี้ยงโครงการต่อ ซึ่งจะส่งแบบสำรวจให้กับพี่เลี้ยงโครงการให้ตอบแบบสำรวจในวันที่ 17 มกราคม 2562 อีกครั้งหนึ่ง
5
0
6. ประชุมกำหนดแนวทางการดำเนินการประเมินโครงการปัจจจัยเสี่ยง
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
1.นัดหมายคณะผู้ประเมินให้รับทราบกำหนดการประชุมและวาระการประชุมงาน
2.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่คณะประเมินในส่วนของเนื้อหา กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง และนัดหมายการลงพื้นที่เก็บข้อมูล
3.สรุปการประชุม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นัดหมายคณะผู้ประเมินให้รับทราบกำหนดการประชุมและวาระการประชุมงาน
......... คณะผู้ประเมิน ประกอบด้วย ผศ.ณชพงศ จันจุฬา ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ และดร.จิรัชยา เจียวก๊ก ับทราบการประชุมและวาระการประชุมเพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่คณะประเมินในส่วนของเนื้อหา กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง และนัดหมายการลงพื้นที่เก็บข้อมูล
...... ผศ.ณชพงศ ได้เริ่มประชุมด้วยกาชี้แจงรายละเอียดโครงการปัจจัยเสี่ยงว่า เป็นโครงการที่เกี่ยวข้องกับการลดสุรา ยาสูบ และยาเสพติดในพื้นที่ตำบลหนองจิก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ซึ่งทางสจรส. ได้จัดโครงการอบรมแก่กลุ่มกองทุนตำบลในการเขียนโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากสปสช.ในการดำเนินการลดปัจจัยเสี่ยง และพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพในเขตตำบลหนองจิก ซึ่งมี 13 กองทุนและเข้าร่วมอบรมกับทางสจรส. ทั้งนี้การอบรมได้ดำเนินการไปแล้ว และทางสจรส.ต้องการรับทราบผลการดำเนินงานว่าเป็นอย่างไรบ้าง จึงได้อนุมัติงบประมาณแก่คณะผู้ประเมินเพื่อประเมินกลุ่มกองทุนหลักประกันสุขภาพในตำบลหนองจิกทั้ง 13 กองทุน
......เมื่อได้รับการชี้แจงรายละเอียด ทางคณะผู้ประเมินจึงได้กำหนดวันดำเนินการเป็น 3 กิจกรมได้แก่
1) กิจกรรมเข้าพบเจ้าของโครงการหรือสจรส. เพื่อทบทวนการดำเนินงานและรายละเอียดต่างๆ ในวันที่ 20 ธันวาคม 2561
2) กิจกรรประสานงานกับพี่เลี้ยงโครงการในพื้นที่ เพื่อประสานงานเก็บข้อมูลกับตัวแทนกองทุนตำบลทั้ง 13 กองทุน ในวันที่ 22 ธันวาคม 2561
3) กิจกรรมสนทนากลุ่ม เก็บข้อมูลเพื่อทำการประเมินผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าของกองทุนตำบลทั้ง 13 กองทุน ในวันที่ 3 มกราคม 2561
- สรุปการประชุม
4
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
-
วัยเรียน (6-12 ปี)
-
วัยรุ่น (13-15 ปี)
-
เยาวชน (15-20 ปี)
-
วัยทำงาน
-
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
-
ผู้หญิง
-
มุสลิม
-
พระภิกษุ
-
ชาติพันธุ์
-
ผู้ต้องขัง
-
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
-
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
-
แรงงานข้ามชาติ
-
อื่น ๆ
-
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ ข้อตกลงป
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผศ.ณชพงศ จันจุฬา, ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ, ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี ”
อ.หนองจิก จังหวัดปัตตานีหัวหน้าโครงการ
ผศ.ณชพงศ จันจุฬา, ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ, ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก
ชื่อโครงการ การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี
ที่อยู่ อ.หนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ ข้อตกลงป เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อ.หนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี
บทคัดย่อ
โครงการ " การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ อ.หนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ข้อตกลงป ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การประเมินครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด โดยประยุกต์กรอบแนวคิดการประเมิน “CIPP Model” ของ สตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) โดยมุ่งประเมิน 4 ส่วน โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ เพื่อประเมินโครงการโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ตามกรอบการประเมินต่อไปนี้ 1) เพื่อประเมินบริบทการดำเนินงานภายใต้การพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น 2) เพื่อประเมินโครงการที่เกิดจากการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล 3) เพื่อประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบของกลุ่มกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในการทำโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติดภายหลังจากการเข้าร่วมโครงการ ซึ่งรายละเอียดของวิธีการดำเนินการประเมิน ดังต่อไปนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมกำหนดแนวทางการดำเนินการประเมินโครงการปัจจจัยเสี่ยง
- ลงพื้นที่สัมภาษณ์และเตรียมความพร้อมการประชุมตัวแทนกองทุน สปสช.ทั้ง 13 กองทุนในเขตอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
- ทบทวนความเข้าใจ เพื่อเตรียมกำหนดกรอบการประเมินผลโครงการปัจจัยเสี่ยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
- การร่วมสนทนากลุ่มกับทีมงานประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด
- ประชุมสรุปการติดตามประเมินผลโครงการปัจจัยเสี่ยงฯ หนองจิก ปัตตานี
- จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | ||
วัยทำงาน | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
ผู้พิการ | ||
ผู้หญิง | ||
มุสลิม | ||
พระภิกษุ | ||
ชาติพันธุ์ | ||
ผู้ต้องขัง | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | ||
แรงงานข้ามชาติ | ||
อื่น ๆ |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ทบทวนความเข้าใจ เพื่อเตรียมกำหนดกรอบการประเมินผลโครงการปัจจัยเสี่ยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี |
||
วันที่ 20 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทางคณะผู้ประเมินได้รับทราบสถานการณ์โครงการปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ซึ่งหมายถึงกิจกรรมที่ทางสจรส.ได้จัดกิจกรรมอบรมและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพในพื้นที่ตำบลหนองจิก เพื่อให้สามารถเขียนโครงการของบประมาณดำเนินกิจกรรมเพื่อลดการติดสุรา ยาสูบ และยาเสพติด และการดำเนินงานประเด็นปัจจัยเสี่ยงภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลว่ามหน่ายงานใดเกี่ยวข้องบ้าง ใครเป็นผู้ประสานงานหลัก
|
2 | 0 |
2. ลงพื้นที่สัมภาษณ์และเตรียมความพร้อมการประชุมตัวแทนกองทุน สปสช.ทั้ง 13 กองทุนในเขตอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี |
||
วันที่ 22 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำสัมภาษณ์ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งเเวดล้อมเทศบาลตำบลหนองจิง ถึงขั้นตอนรายละเอียดการดำเนินงานเกี่ยวกับกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบล เพื่อเตรียมความพร้อมของพื้นที่ 13 กองทุน ในเขตเทศบาลตำบลหนองจิก เพื่อเข้าร่วมประชุมสนทนากลุ่มในการประเมินขั้นตอนการทำงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้กลุ่มเป้าหมาย 13 กองทุน ที่ดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบล ในการร่วมทำการสนทนากลุ่ม (Focus Group) โดยผอ.ได้ชี้แจงรายละเอียดโครงสร้างของกลุ่มเป้าหมาย โครงการที่ได้เสนอมาภายหลังการอบรม และปัญหาอุปสรรคอย่างคร่าวๆ เพื่อให้ผู้ประเมินสามารถนำไปกำหนดกรอบการเก็บข้อมูลในครั้งถัดไป รับทราบข้อมูลเบื้องต้นในการดำเนินงานเกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับกองทุน ในประเด็นปัจจัยเสี่ยงฯ ซึ่งมี 13 กองทุนในตำบลหนองจิก ส่วนใหญ่โครงการที่กองทุนขอมานั้นจะเน้นเรื่องของการลดบุหรี่ มากที่สุด รองลงมาคือยาเสพติด และสุรา เนื่องจากพื้นที่หนองจิกมีประชากรที่นับถือศาสนาอิสลามจึงไม่ค่อยมีผู้ติดสุรามากนัก ภายหลังจากการสัมภาษณ์ คณะประเมินจึงได้นำข้อมูลมากำหนดเป็นแบบสอบถามและแบบสนทนากลุ่ม เพื่อเก็บข้อมูล โดยได้นัดหมายกับตัวแทนทั้ง 13 กองทุน ผ่านผ.อ.กองสธารณสุขทต.หนองจิกเป็นผู้ประสานงานและอำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรม
|
2 | 0 |
3. การร่วมสนทนากลุ่มกับทีมงานประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด |
||
วันที่ 3 มกราคม 2562กิจกรรมที่ทำสนทนากลุ่มกับทีมงานประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรับทราบข้อมูลกลไกการดำเนินงาน .....ในการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ นั้น ทางตัวแทนกองทุนได้บอกเล่าเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินงานของตนเองว่าเป็นอย่างไร ส่วนใหญ่จะเข้าใจในบทบาทของตนเองมากขึ้น รวมถึงได้แนวทางการดำเนินงานในการอนุมัติงบปะมาณแก่ชุมชน และเป็นที่ปรึกษาในการทำโครงกาทางด้านสุขภาพได้ดีมากขึ้น ในขณะที่การบันทึกข้อมูลนั้นช่วยให้เจ้าหน้าที่รายงานกิจกรรมได้ง่ายขึ้น แต่ก็ต้องอาศัยระยะเวลาในการทำความเข้าใจระบบการบันทึกข้อมูลมาก ...... ในการสนทนากลุ่มนั้น ผู้ให้ข้อมูลยังตอบคำถามการประเมินได้ไม่ตรงประเด็นมากนัก เนื่องจากโครงการเพิ่งจะดำเนินการ และอยู่ในช่วงที่กำลังปรับระบบการดำเนินงาน จึงสะท้อนเกี่ยวกับความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมกับทางสจรส.มากกว่าการสะท้อนผลการดำเนินงานของตนเอง
|
20 | 0 |
4. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ |
||
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรายงานฉบับสมบูรณ์มีความก้าวหน้าในส่วนของบทผลการประเมินด้วยข้อมูลเชิงปริมาณที่อยู่ในระดับดี ในขณะที่รูปเล่มส่วนที่ 1 2 3 ก็กำลังเขียนเนื้อหาลงไปตามแบบฟอร์มที่ทางคณะประเมินได้ออกแบบจากการปะชุมในครั้งก่อน ซึ่งคาดว่าตัวเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์จะแล้วเสร็จในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562
|
5 | 0 |
5. ประชุมสรุปการติดตามประเมินผลโครงการปัจจัยเสี่ยงฯ หนองจิก ปัตตานี |
||
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ1) นัดหมายคณะผู้ประเมินเพื่อร่วมกันสรุปข้อมูลที่ได้จากการสนทนากลุ่ม 2) คณะผู้ประเมินร่วมกันออกแบบโครงร่างเล่มรายงาน 3) คณะผู้ประเมินทำการสรุปผลการเก็บข้อมูลจากการสนทนากลุ่ม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ผลการติดตามประเมิน เพื่อนำมาจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ ......จากการประมวลผลจากแบบสอบถามเชิงปริมาณในประเด็นความพึงพอใจ พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมกับทางสจรส. มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ ดี ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงจากการเข้าร่วมอบรมนั้น พบว่าผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมประมา 2-3 ขั้นตอนจากการดำเนินงานภายหลังจากการอบรมและพัฒนาศักยภาพการดำเนินงาน โดยเนื้อหาเชิงคุณภาพนั้น ยังคงต้องมีการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมอีกครั้งจากพี่เลี้ยงโครงการ เนื่องจากข้อมูลยังไม่อิ่มตัว ..... หลังจากสรุปข้อมูลพบว่าข้อมูลการประเมินยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และอิ่มตัวมากนัก ทางคณะผู้ประเมินจึงได้วางแผนการซ่อมข้อมูล โดยการออกแบบการเก็บข้อมูลเชิงสำรวจเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานในแต่ละกองทุนผ่านพี่เลี้ยงโครงการต่อ ซึ่งจะส่งแบบสำรวจให้กับพี่เลี้ยงโครงการให้ตอบแบบสำรวจในวันที่ 17 มกราคม 2562 อีกครั้งหนึ่ง
|
5 | 0 |
6. ประชุมกำหนดแนวทางการดำเนินการประเมินโครงการปัจจจัยเสี่ยง |
||
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ1.นัดหมายคณะผู้ประเมินให้รับทราบกำหนดการประชุมและวาระการประชุมงาน 2.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่คณะประเมินในส่วนของเนื้อหา กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง และนัดหมายการลงพื้นที่เก็บข้อมูล 3.สรุปการประชุม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
4 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
ปฐมวัย (0-5 ปี) | - | ||
วัยเรียน (6-12 ปี) | - | ||
วัยรุ่น (13-15 ปี) | - | ||
เยาวชน (15-20 ปี) | - | ||
วัยทำงาน | - | ||
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
ผู้พิการ | - | ||
ผู้หญิง | - | ||
มุสลิม | - | ||
พระภิกษุ | - | ||
ชาติพันธุ์ | - | ||
ผู้ต้องขัง | - | ||
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) | - | ||
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) | - | ||
แรงงานข้ามชาติ | - | ||
อื่น ๆ | - |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
การประเมินโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด อ.หนองจิก จ.ปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ ข้อตกลงป
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผศ.ณชพงศ จันจุฬา, ดร.ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ, ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......