ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ”

จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอาหามะ เจ๊ะโซะ, นางนิมลต์ หะยีนิมะ, นางเพียงกานต์ เด่นดารา

ชื่อโครงการ การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส



บทคัดย่อ

การติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้เขตพื้นที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาสใช้กรอบการประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ โดยประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วยคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้เขตพื้นที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จำนวน 10 คน เจ้าหน้าที่ทั่วไปโรงพยาบาลรือเสาะจำนวน 20 คน และกลุ่มประชาชนในพื้นที่ขับเคลื่อนพหุวัฒนธรรมวิถีพุทธจำนวน 50 คน และกลุ่มประชาชนวิถีมุสลิม จำนวน 185 คน โดยใช้กระบวนการสนทนากลุ่ม ซึ่งใช้แบบสอบถามแบบกึ่งโครงสร้างตามกรอบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพร่วมกับ การรวบรวมข้อมูลจากเอกสารของพื้นที่ การบันทึกภาคสนาม โดยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
            ผลการประเมินพบว่า 1) ด้านวิธีการทำงานการจัดการใหม่ในรูปแบบนโยบายสุขภาพดีวิถีธรรม กระทรวงสาธารณสุขโดยการใช้ 3ส3อ 1น วิถีพุทธ (3 ส ประกอบด้วย สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม, 3 อ ประกอบด้วย อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย,1น คือนาฬิกาชีวิต) ส่วน 3ส3อ 1น วิถีอิสลาม (3 ส ประกอบด้วย ดุอาร์ รักษาหม่าม นาศีฮัต, 3 อ ประกอบด้วย บารอกัต เอาชนะนัฟซู อามานะห์, 1น คือวิถีสุนนะห์) มาประยุกต์ใช้ในสถานบริการและชุมชน ในสถานบริการมีการใช้ Ruso 8 hrs happinometer ส่วนในชุมชนใช้แนวคิดวิถีพุทธ วิถีอิสลาม ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ใหม่ให้ชุมชนใกล้เคียงในตำบลลาโล๊ะได้ 2) ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใช้กิจกรรมคุณภาพชีวิต 5 ด้าน (การปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว การปกป้องทรัพยากร) เช่น การสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน รูปแบบการออกกำลังกายที่หลากหลาย มีเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ และใช้นาฬิกาชีวิตในครัวเรือน การนำส่งจิตอาสา 24 ชั่วโมง ในบ้านไทยสุข 44 ครัวเรือน ส่วนในชุมชนมุสลิมนำวิถีสุนนะห์ โดยผู้นำศาสนาและแกนนำ 3) ด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ มีการจัดการขยะในลักษณะเป็นขยะบุญ 12 ชุมชน การปลูกผักปลอดสารพิษ อย่างน้อย 5 ชนิด ปลูกทุกครัวเรือนในไทยพุทธ ส่วนชุมชนมุสลิม มีครัวเรือนปลูกผัก20 ครัวเรือน 4) ด้านนโยบายสาธารณะ มีธรรมนูญวัด และธรรมนูญมัสยิด 12 ชุมชน    5) มีการขับเคลื่อนรูปแบบสภาชุมชน พบการมีส่วนร่วมชุมชนไทยสุข ชุมชนมุสลิมร้อยละ 86.1, 56.9 ตามลำดับ
          ข้อเสนอแนะการดำเนินงานในสถานบริการเรื่องการประเมิน Ruso 8 hrs happinometer ต้องมีผู้ประเมินชัดเจน รวมถึงการทบทวนติดตามการใช้ 3ส3อ 1น วิถีพุทธ วิถีอิสลาม การนำธรรมนูญวัด มัสยิดที่ประกาศใช้เป็นระยะอย่างต่อเนื่องในชุมชน และขยายพื้นที่การใช้ 3ส3อ 1น วิถีพุทธ วิถีอิสลาม การร่วมทำและนำใช้ธรรมนูญวัด และธรรมนูญมัสยิดในพื้นที่ใกล้เคียง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย จังหวัดสงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส มีพื้นที่การปกครอง 56 อำเภอ 411 ตำบล และ 2,816 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้นจำนวน 3,748,287 คน แบ่งเป็นประชากรที่นับถือศาสนาศาสนาอิสลาม จำนวน 2,871,937 คน (ร้อยละ 76.62) และประชากรที่นับถือพุทธ จำนวน 682,564 คน (ร้อยละ 18.21) เป็นพื้นที่ที่มีลักษณะพิเศษทางสังคมและวัฒนธรรมแตกต่างจากพื้นที่อื่นของประเทศ ประกอบกับสถานการณ์ความรุนแรงเกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ.2547 ต่อเนื่องเป็นต้นมา ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่ในทุกด้าน รวมถึงระบบบริการสุขภาพในพื้นที่จะต้องจัดระบบบริการเพื่อรองรับภาวะวิกฤตที่มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น สถานบริการสุขภาพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้บางพื้นที่ได้มีการดำเนินการจัดบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับพื้นที่พหุวัฒนธรรมไปบ้างแล้ว ภายใต้การผลักดันของศูนย์บริการพัฒนาสุขภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศบ.สต.) ตามความพร้อมและศักยภาพของแต่ละโรงพยาบาลแตกต่างกันไป

ศูนย์บริหารการพัฒนาสุขภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศบ.สต.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) จึงจัดโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้ ขึ้น เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจต่อบุคลากรสาธารณสุขในหลักการและวิถีทางศาสนาต่อการให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนที่ถูกต้อง กำหนดให้โรงพยาบาลรือเสาะ เป็นตัวแทนโรงพยาบาลจังหวัดนราธิวาสในการพัฒนาและยกระดับการจัดบริการสุขภาพให้สอดคล้องกับพื้นที่พหุวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทางทีมประเมินมีความจำเป็นติดตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละดับเพื่อเป็นแนวทางและบทเรียนในการจัดบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อค้นหาคุณค่าที่เกิดจากโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมอำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อออกแบบการติดตาม
  2. ลงพื้นที่ติดตามครั้งที่ 1
  3. ลงพื้นที่ติดตามครั้งที่ 2
  4. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการติดตาม
  5. สรุปรายงานกิจกรรมฉบับสมบูรณ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม 100
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ 50
-
คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรร 10
เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล และ รพสต รือเสาะ 20

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
  2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
  3. มีการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) ในชุมชนไทยพทธ และมสลิม
  4. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน หรือมีธรรมนูญของชุมชน
  5. เกิดกระบวนการชุมชน 6) มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานเพื่อออกแบบการติดตาม

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมวางแผนแนวทางการทำงานและประสานงานพื้นที่เพื่อการลงติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายอแดนใต้เขตพื้นที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
  • ออกแบบกรอบแนวคิดและเครื่องมือ ในการติดตามประเมินผล และรูปแบบการลงพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้แนวทางกิจกรรมการลงติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายอแดนใต้เขตพื้นที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
  • ได้กรอบแนวคิดและเครื่องมือประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ โดยมีรายละเอียด
  • พบปะคณะทำงานโครงการโดยแจ้งวัตถุประสงค์การติดตามโครงการตามกรอบแนวคิดกฏบัตรออตาว่าและคุณค่า
  • คณะทำงานโครงการนำเสนอความก้าวหน้าโครงการและสนทนาเล่าเรื่อง ตัวแทนทีมขับเคลื่อนวิถีอิสลาม วิถีพุทรแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนเรียนรู้ถอดบทเรียน
  • พื้นที่ตอบรับการรับประเมิน ในกลุ่มเจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพที่ขับเคลื่อนโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายอแดนใต้เขตพื้นที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

 

3 0

2. ลงพื้นที่ติดตามครั้งที่ 1

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงวัตถุประสงค์การติดตามกรอบแนวคิดการติดตามตามกฏบัตรออตาว่าและคุณค่า
  2. สนทนากลุ่มคณะทำงานโครงการ โดยมีรายละเอียดดังนี้   - นำเสนอความก้าวหน้าโครงการและสรุป ปัญหา อุปสรรค การทำโครงการ   - แลกเปลี่ยนข้อเสนอและคำแนะนำในการแก้ไขปัญหาอุปสรรค การกรจัดการโครงการเฉพาะหน้า เช่น การบันทึกข้อมูลในเวปไซด์ หลักฐานการเบิกจ่ายโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมประกอบด้วย ทีมประเมินติดตาม 3 คน ผู้รับผิดชอบและแกนนำโครงการ จำนวน 10 คน
  2. ข้อมูลโดยสรุปจากกิจกรรม

  2.1 กระบวนการพัฒนาระบบบริการ เริ่มจากหลักคิด ประชาชนคิด ประชาชนเป็นเจ้าของ และใช้แนวคิดนโยบายุขภาพวิธีธรรมจากกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 3 ส. 3 อ. 1 นมาปรับใช้ในการจัดการสุขภาพพหุวัฒนธรรม โดยวิถีอิสลามและวิธีพุทธนำมาใช้ในโรงพยาบาลรือเสาะและนำร่องชุมชนตำบลลาโละ และในสถานบริการโรงพยาบาลรือเสาะโดยเน้นในโรคเรื้อรัง ในเนื้อหาด้านมิติกรอบกิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย
      - ด้านปัจเจกชน เกี่ยวกับการจัดการแบบแผนชีวิต
      - ด้านองค์กรสุขภาพ เกี่ยวกับการจัดการนวัตกรรม
      - ด้านองค์กรชุมชน เกี่ยวกับ การจัดการศาสนสถาน
  และกรอบคิดด้านคุณค่า ประกอบด้วย
    1. ด้านป้องกันจิตวิญญาณ สร้างนวตกรรมขับเคลือนด้วยกิจกรรม 3 ส ( สวดมนต์/ดุอา , สมาธิ/อีหม่าม , สนทนาธรรม/ นาสีฮัต) มีการจัดมุมธรรมมะ มุมหนังสือธรรมมะ และจัดทำสื่อ เช่น สื่อรูปแบบการละหมาดตะยัมมุม

    2. ด้านปกป้องชีวิต สร้างนวตกรรมขับเคลือนด้วยกิจกรรม 3 อ ( อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) และ 1 น นาฬิกาชีวิต ซึ่งดำเนินการในโรคเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูง และความดัน กิจกรรม 3 อ มีกิจกรรม เมนูสุขภาพ การออกกำลังกายด้วยการป้่นจักยานในเจ้าหน้าที่ ส่วนกิจกรรม 1 น นาฬิกาชีวิต ยังไม่เห็นเป็นรูปธรรมในโรงพยาบาล

    3. ด้านปกป้องสติปัญญา บุคลากรทางการแพทย์เป็นผู้ให้ข้อมูลที่สอดคล้องกับวิถีพุทธ วิถีอิสลาม โดยแกนนำเจ้าหน้าที่ อสมบ้านไทยสุข

    4. ด้านปกป้องครอบครัว
    5. ด้านปกป้องทรัพยากร เกิดธรรมนุญสุขภาวะวัดและมัสยิดขับเลื่อนในตำบลลาโละ

2.2 ด้านระบบริการในโรงพยาบาล โรงพยาบาลรือเสาะได้อบรมทำความเข้าใจแนวคิด นโยบายสุขภาพดีวิถีธรรม กระทรวงสาธารณสุขโดยการใช้ 3 ส 3อ 1น วิถีพุทธวิถีอิสลามในกลุ่มเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลและรพ.สต.จำนวน 200 คน ที่สามารถเป็นแกนนำ สามารถเป็นพี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่ อื่น ๆ จำนวน 6 คน

 

30 0

3. ลงพื้นที่ติดตามครั้งที่ 2

วันที่ 23 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. สังเกตแบบมีส่วนในเวที โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำและสร้างเสริมสุขภาพวิธีธรรม ในตำบลลาโละ เพื่อค้นหาและยืนยันคุณค่าโครงการเพิ่มเติมจากแกนนำโครงการหลักจากชุมชน
    ประเด็นเพิ่มดังนี้
    • การก่อเกิดธรรมนูญสุขภาวพวิธีธรรม
    • กระบวนการพัฒนาสุขภาวพวิธีธรรม
    • ผลลัพธ์เปลี่ยนแปลงที่่เกิดขึ้นในชุมชน
  2. ทบทวนจากแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม เช่น รายงานสถานการณ์โรคเรื้อรังจาก https://nwt.hdc.moph.go.th/hdc/main/index_pk.php

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้ร่วมกิจกรรมทั้งหมด 200 คน ประกอบด้วย คณะทำงานโครงการแลเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลรือเสาะ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในตำบล  ทีมติดตาม จำนวน 3 คน ตัวแทนชุมชนตำบลลาโละ 10 ชุมชน ตัวแทนภาคประชาชนจากอำเภอจะแนะ
  • ภาพรวมข้อมูล

    • มีการขับเคลื่อนสุขภาวะสุขภาพดีวิถีธรรมในรูปแบบธรรมนูญสุขภาวะมัสยิด 11 มัสยิด และธรรมนูญสุขภาวะวัดชนาราม 1ชุมชนตามกรอบแนวคิด วิถีธรรม 3 ส 3 อ 1 น บูรณาการพหุวัฒนธรรมโดยชุมชนร่วมคิดร่วมทำ ขยายจากชุมชนพุทธ สู่ชุมชนมุสลิม
    • มีกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่าง ไทย - มุสลิม ในชุมชน ต ลาโละ มีความสัมพันธ์ที่ดี มีการประชุมพูดคุยอย่างต่อเนื่องที่สอดคล้องวัฒนธรรมและประเพณีวิถีไทย วิถีมุสลิม
    • ประชาชนรับรู้ธรรมนูญสุขภาวะมัสยิด 11 มัสยิด และธรรมนูญสุขภาวะวัดชนาราม 1ชุมชน

    • การนำธรรมนุญสู่การปฏิบัติ เป็นการใช้ศาสนา / วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนาโดยการใช้กรอบแนวคิด วิถีธรรม 3ส3อ 1น 2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    • การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล โดยเริ่มจากชุมชนไทยสุข มีการปรัปเปลี่ยนฤติกรรมโดยการใช้กิจกรรมคุณภาพชีวิต 5 ด้าน (ด้านการปกป้องจิตวิญญาณ, ด้านการปกป้องชีวิต, ด้านการปกป้องสติปัญญา, ด้านการปกป้องครอบครัว, ด้านการปกป้องทรัพยากร)
    • กิจกรรม 3 ส (สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม) โดยมีการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน สมาชิกครัวเรือนมีการสนทนาธรรม ในกลุ่มประชาชน เยาวชน ที่วัดในวันพระ 4 ครั้ง ต่อเเดือน กำหนดเขตปลอดเครื่องมือสิ่อสาร ในลานฝึดสมาธิ ขยายให้เกิดการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน
    • กิจกรรม 3 อ ( อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ) เช่น การออกกำลังกาย 30 ต่อวันโดยการเต้นแอร์โรบิกทุกวัน เช้าเย็น รวมถึงมีกิจกรรม ปั่นจักยาน มีการกำหนดเส้นทางปั่นจักยานของชุมชนระยะทาง 16 กม โดยมีกลุ่มปั่นจักยาน 30 คน เป็นสมาชิกกลุ่ม ซึ่งได้นำงบกองทุนออมทรัพย์ของชุมชนไทยสุขจัดซื้อจักยานกองกลาง 20 คันมีลานออกกำลังกายในชุมชน ให้คนในชุมชนยืมออกกำลังกาย มีศูนย์ออกกำลังกายสำหรับคนในชุมชน และชุมชนมีการออแบบการออกกำลังกายที่หลากหลาย เช่น เต้นแอร์โรบิก ออกกำลังกายโ้วยเครื่อง ฟุตบอล วิ่ง เป้นต้น ด้านอาหารมีเมนูอาหารเพื่อสุขภาพลดเสี่ยงเบาหวาน ความดัน ในรูปแบบอาหารเป็นยา โดนเริ่มจากสมุนไพรใกล้บ้าน เช่น น้ำดื่มสมุนไพรควบคุมเบาหวาน เมนูอาหารเพื่อสุขภาพในครัวเรือน และงานบุญบริโภคผักริมรั้วปลอดสารพิษ อย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิด
    • ระบบนำส่งโดยชุมชนด้วยการใช้รถนำส่งผู้ป่วยโดยใช้รถจิตอาสาในชุมชนตลอด 24 ชั่วโมง เน้นผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก กล้ามเนื่ออ่อนแรง ทำให้คนในชุมชนเข้าถึงการรักษาที่รวดเร็ว ทำใหเ้เกิดการใช้เกิดการใช้นาฬิกาชีวิตเพื่อจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน จำนวน 44 ครัวเรือน
    • ความสัมพันธ์ ระหว่าง ไทย - มุสลิม ในชุมชน ต ลาโละ มีความสัมพันธ์ที่ดี มีการประชุมพูดคุยอย่างต่อเนื่องตามเทศการวัฒนธรรมและประเพณีของไทยพุทธและไทยมุสลิม มีกิจกรรมสัมพันธ์ เช่น ในเดือนรอมฎอน ชุมชนไทยพุทธจะนำอินทผาลัมไปเยี่นมชุมชนมุสลิม วันสารทชุมชนมุสลิมนำข้าวสารให้ชุมชนไทยพุทร ทให้เกิดความสงบสุขในตำบลลาโละ

    • จากรายงานการทบทวนฐานข้อมูลสถาการณ์โรคเรื้องรังเปรียบเทียบ 2 ปี พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลงจาก 7 คน เหลือ 5 คนในปี61 ความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงจาก 12คน เหลือ 5 คน ในปี61 โรคเบาหวานที่สามารถควบคุมโรคได้ตามเกณฑ์ ลดลงจาก 8 คน เหลือ 6 คนในปี 61 โรคความดันโลหิตสูงที่สามามารถควบคุมได้ตามเกณฑ์ เพิ่มขึ้น จาก14 คน เป็น 19คนในปี 61

 

160 0

4. ประชุมทีมติดตามประเมินเพื่อสรุปผลการติดตาม

วันที่ 14 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปคุณค่าโครงการตามแนวคืดการประเมินคุณค่า การติดตามการประเมินผลโครงการรการสร้างเสริมสุขภาพ
  2. ให้ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

่ประชุมเพื่อสรุป โดยคืนข้อมูลการสรุปคุณค่า ซึ่งดำเนินกระบวนการโดบใช้กรอบคิดการติดตามแบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกัแบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพบการสร้างเสริมสุขภาพ ร่วมกับพื้นที่ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและเพิ่มเติมข้อมูลต่างๆจากพื้นที่ การสนทนาพูดคุยเป็นกันเอง และชุมชนร่วมให้คะแนนประเมินคุณค่าตนเอง ร่วมกับเจ้าหน้าที่ร่วมให้คะแนะประเมิน โดย มีรายละเอียดดังนี้

  1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน - ความรู้ใหม่/ องค์ความรู้ใหม่
    • วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ การนำนโยบายสุขภาพดีวิถี ธรรม กระทรวงสาธารณสุขโดยการใช้ 3ส3อ 1น โดยนำแนวคิดวิถีพุทธ มาปรับใช้ในการจัดการสุขภาพโดยวิธีอิสลาม
    • แหล่งเรียนรู้ใหม่ เกิดแหล่งเรียนรู้สุขภาพดีวิถีพุทธในชุมชนไทยสุข ในการใช้นาฬิกาชีวิตในครัวเรือน 44 ครัวเรือน 168 คน ในชุมชนไทยสุข
  2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ - การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล ชุมชนไทยสุข มีการปรัปเปลี่ยนฤติกรรมโดยการใช้กิจกรรมคุณภาพชีวิต 5 ด้าน
    (ด้านการปกป้องจิตวิญญาณ ด้านการปกป้องชีวิต ด้านการปกป้องสติปัญญา ด้านการปกป้องครอบครัว ด้านการปกป้องทรัพยากร) เช่นใช้กิจกรรม 3 ส(สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม) โดยมีการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน สมาชิกครัวเรือนมีการสนทนาธรรมที่วัดทุก4 ครั้ง ต่อเดือน
    • กิจกรรม3 อ ( อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ) เช่น การออกกำลังกาย 30 ต่อวันโดยการเต้นแอร์โรบิก ปั่นจักยาน เมนูอาหารเพื่อสุขภาพลดเสี่ยงเบาหวาน ความดัน กิจกรรมการจัดการชีวิต โดยใช้นาฬิกาชีวิต ในครัวเรือน ในบ้านไทยสุข 44 ครัวเรือน ในชุมชนมุสลิม มีการนำการปฏิบัติตามวิถีอิสลาม และการปฏิบัติตามแบบอย่างท่านนาบี โดยมีรูปแบบผู้นำศาสนาและแกนนำชักชวน มาร่วมกิจกรรมทางศาสนาต่างๆ เช่น การชักชวนมาละหมาดที่มัสยิด โดยใช้มาตรการทางสังคม โดนผู้ที่ละหมาดมัสยิดจะรวมตัวกันไปร้านกาแฟ ร้านอาหารที่เจ้าของร้านไปร่วมละหมาด ทำให้ มีผู้ละหมาดเพิ่มชึ้น จาก 3-4 คน เป็น 10-15 คน
    • การบริโภค มีเมนูอาหารเพื่อสุขภาพในครัวเรือน และงานบุญเบาหวาน ความดัน บริโภคผักริมรั้วปลอดสารพิษ อย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิดทำให้ เบาหวานรายใหม่ลดลงจาก 7 คน เหลือ 5 คนในปี61 ความดันโลหิตสุงรายใหม่ลดลงจาก 12คน เหลือ 5 คนในปี61DM control ลดลงจาก 8คน เหลือ 6คนในปี61DM control ลดลงจาก 8คน เหลือ 6 คนในปี61HTcontrolเพิ่มขึ้น จาก14 คน เหลือ 19คนในปี61 บริโภคผักริมรั้วปลอดสารพิษในชุมชนมุสลิม ต ลาโละ
    • การออกกำลังกาย มีลานออกกำลังกายในชุมชน การออกกำลังกาย 30 ต่อวันโดยการเต้นแอร์โรบิกทุกวัน เช้าเย็น รวมถึงมีกิจกรรม ปั่นจักยาน มีการกำหนดเส้นทางปั่นจักยานของชุมชนระยะทาง 16 กม โดยมีกลุ่มปั่นจักยาน 30 คน เป็นสมาชิกกลุ่ม ซึ่งได้นำงบกองทุนออมทรัพย์ของชุมชนไทยสุขจัดซื้อจักยานกองกลาง 20 คันมีลานออกกำลังกายในชุมชน ให้คนในชุมชนยืมออกกำลังกาย มีศูนย์ออกกำลังกายสำหรับคนในชุมชน และชุมชนมีการออแบบการออกกำลังกายที่หลากหลาย เช่น เต้นแอร์โรบิก ออกกำลังกายโ้วยเครื่อง ฟุตบอล วิ่ง เป้นต้น
    • การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ มีการจัดอบรมให้ความรุู้ในชุมชน ฟังบรรยายธรรม และเน้นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ด้วยการออกกำลังกายที่ศุนย์เรียนรู้ในกลุ่มเยาชนและเด็ก ทำให้ไม่พบผู้ติดยาเสพติดรายใหม่ และผู้สูบบุหรี่รายใหม่ ในชุมชนมุสลิม มีผู้เลิกบุหรี่ 2 คน
    • การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท ชุมชนมีรถรับส่งผู้ป่วยฉุกเฉิน ในลักษณะรถนำส่งผู้ป่วยจิตอาสา มีพนักงานขัรถจิตอาสา ด้วยคนในชุมชน ซึ่งสร้างระบบนำส่งโดยชุมชนด้วยการใช้รถนำส่งผู้ป่วยโดยใช้รถจิตอาสาในชุมชนตลอด 24 ชั่วโมง เน้นผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก กล้ามเนื่ออ่อนแรง ทำให้คนในชุมชนเข้าถึงการรักาาที่รวดเร็วเพื่อคนในชุมชนไทยสุขเข้าถึงบริการสุขภาพ
    • การจัดการอารมณ์ / ความเครียด โดยมีการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน สมาชิกครัวเรือนมีการสนทนาธรรม ในกลุ่มประชาชน เยาวชน ที่วัดในวันพระ 4 ครั้ง ต่อเดือน กำหนดเขตปลอดเครื่องมือสิ่อสาร ในลานฝึดสมาธิ ขยายให้เกิดการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน
    • มีการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน สมาชิกครัวเรือนมีการสนทนาธรรมที่วัดทุกวันพระ
    • การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง - การดำรงชีวิตโดยใช้วิถีธรรม(วิถีพุธ) และวิถีอิสลาม โดนการนำใช้ธรรมนูญสุขภาวะวัดอย่างเป็นรูปธรรม ในหมวด คือ หมวดความมั่นคงปลอดภัยในชิวิต หมวดสุขภาพ หมวดการศึกาษา หมวดครอบครัวและสังคม ผู้พิการ ผู้ด้วยโดกาส เด้ฏกำพร้า แม่หม้าย และผู้ป่วยติดเตียง หมวดทรัยย์สินเศรษฐกิจ และทรัพยากรชุมชน ขาดการทำบัญชีครัวเรือน และหมวดขับเคลื่อนธรรมนูญสูการปฏิบัติ ยังไม่มีการทบทวนนำสู่การแก้ไบต่อไป ธรรมนูญสุขภาวะมัสยิด ขับเคลื่อนเพียงบางหมวด เช่น หมวดครอบครัวและสังคม หมวดด้านการศึกษาในขับเคลื่อน ในการเข้าร่วมกิจกรรมสำคัญ และเดือนสำคัญทางศาสนา การอบรมการปฏิบัติศาสนกิจ หมวดหมวดทรัยย์สินเศรษฐกิจ และทรัพยากรชุมชน ขาดการทำบัญชีครัวเรือน การปลูกต้นไม้ยืนต้น หมวดขับเคลื่อนธรรมนูญสูการปฏิบัติ การขัเคลื่อนเริ่มขับเคลื่อน ยังไม่มีการทบทวนประเมินผลนำสู่การแก้ไขต่อไป
    • วิถีเกื้อกูลและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในชุมชน ต ลาโละ มีความสัมพันะืที่ดี มีการประชุมพูดคุยอย่างต่อเนื่องตามเทศการวัฒนธรรมและประเพณีของไทยพุทธและไทยมุสลิม มีกิจกรรมสัมพันธ์ เช้น ในเดือนรอมฎอน ชุมชนไทยพุทธจะนำอินทผาลัมไปเยี่นมชุมชนมุสลิม วันสารทชุมชนมุสลิมนำข้าวสารให้ชุมชนไทยพุทร ทให้เกิดความสงบสุขในตำบลลาโละ
    • มีเมนูอาหารเพื่อสุขภาพลดเสี่ยงเบาหวาน ความดัน ในรูปแบบอาหารเป็นยา โดนเริ่มจากสมุนไพรใกล้บ้าน เช่น น้ำดื่มสมุนไพรควบคุมเบาหวาน เมนูอาหารเพื่อสุขภาพในครัวเรือน
    • พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน - การใช้รถนำส่งผู้ป่วยโดยใช้รถจิตอาสาในชุมชนตลอด 24 ชั่วโมง เน้นผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก กล้ามเนื่ออ่อนแรง
  3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
    • กายภาพเช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
    • lสภาพแวดล้อมทางสังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่างๆ มีพื้นที่สาธารณะ / พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา / วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา มีการใช้ศาสนา / วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนาโดยการใช้กรอบแนวคิด วิถีธรรม 3ส3อ 1น
    • เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ - การปลูกผักปลอดสารพิษ อย่างน้อน 5 ชนิด
    • มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ - การใช้รถนำส่งผู้ป่วยโดยใช้รถจิตอาสาในชุมชน
    • กองทุนจัดการในชุมชน
    • กองทุนออมทรัพย์ ซื้อจักยานส่วนเพื่อขับเคลื่อนการออกกำลังกายในชุมชน
    • กองทุนโรงเรียน ตารีกา สนับสนุนกิจกรรมตารีกา
  4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ - มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน ธรรมนูญสุขภาวะมัสยิด 11 มัสยิด และวัดชนาราม 1 แห่ง มีการนำธรรมนุญสู่การปฏิบัติ
    • มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน การจับปลาในบ่อปลาดุในพื้นที่สาธาณะ
    • มีธรรมนูญของชุมชน
  5. เกิดกระบวนการชุมชน
    • เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
    • การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) รูปแบบสภาชุมชน การร่วมคิดร่วมทำธรรมนูญสุขภาวะ โดยชุมชนและเครือข่ายร่วมวางแผน ติดตามโดยชุมชน เช่น ประชุม
    • การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชนเช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน การระดมทุน การใช้ทรัพยากรจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพเช่น จักยานเพื่อสุขภาพ
    • มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง - มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง โดยการประชุม แจ้งประชาสัมพันธ์กิจกรรม และติดดามกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
    • เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
    • เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
    • อื่นๆ
  6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
    • ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
    • ภูมิใจในการเป็นชุมชนต้นแบบ และเป็นชุมชนนำร่องของอำเภอรือเสาะ ในการจัดการแบบแผนชีวิตของตนเอง ครอบครัว ชุมชน ให้เกิดสุขภาวะโดยวิถีธรรม ชุมชนเอื้ออาทร และมีจิตอาสา
    • การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

- การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
- ชุมชนมีความเอื้ออาทร
- มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

20 0

5. สรุปรายงานกิจกรรมฉบับสมบูรณ์

วันที่ 23 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

สรุปรายงานกิจกรรมฉบับสมบูรณ์ ในโปรแกรม และบทคัดย่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-แบบสรุปคะแนนประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ 1ฉบับ -สรุปบทคัดย่อ 1 ฉบับ - รายงานฉบับสมบูรณ์ 1 ฉบับ

 

3 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาคุณค่าที่เกิดจากโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมอำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
ตัวชี้วัด : - เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณค่าโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพในแต่ละมิติ อย่างน้อย 1 ด้าน - เกิดรูปแบบบริการสุขภาพทั้งในระดับหน่วยบริการสุขภาพและชุมชนในพื้นที่พหุวัฒนธรรมที่สามารถนำไปใช้อย่างเป็นรูปธรรม
1.00 5.00

1) ด้านวิธีการทำงานการจัดการใหม่ในรูปแบบนโยบายสุขภาพดีวิถีธรรม กระทรวงสาธารณสุขโดยการใช้ 3ส3อ 1น วิถีพุทธ (3 ส ประกอบด้วย สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม, 3 อ ประกอบด้วย อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย,1น คือนาฬิกาชีวิต) ส่วน 3ส3อ 1น วิถีอิสลาม (3 ส ประกอบด้วย ดุอาร์ รักษาหม่าม นาศีฮัต, 3 อ ประกอบด้วย บารอกัต เอาชนะนัฟซู อามานะห์, 1น คือวิถีสุนนะห์) มาประยุกต์ใช้ในสถานบริการและชุมชน ในสถานบริการมีการใช้ Ruso 8 hrs happinometer ส่วนในชุมชนใช้แนวคิดวิถีพุทธ วิถีอิสลาม ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ใหม่ให้ชุมชนใกล้เคียงในตำบลลาโล๊ะได้ 2) ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใช้กิจกรรมคุณภาพชีวิต 5 ด้าน (การปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว การปกป้องทรัพยากร) เช่น การสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน รูปแบบการออกกำลังกายที่หลากหลาย มีเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ และใช้นาฬิกาชีวิตในครัวเรือน การนำส่งจิตอาสา 24 ชั่วโมง ในบ้านไทยสุข 44 ครัวเรือน ส่วนในชุมชนมุสลิมนำวิถีสุนนะห์ โดยผู้นำศาสนาและแกนนำ 3) ด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ มีการจัดการขยะในลักษณะเป็นขยะบุญ 12 ชุมชน การปลูกผักปลอดสารพิษ อย่างน้อย 5 ชนิด ปลูกทุกครัวเรือนในไทยพุทธ ส่วนชุมชนมุสลิม มีครัวเรือนปลูกผัก20 ครัวเรือน 4) ด้านนโยบายสาธารณะ มีธรรมนูญวัด และธรรมนูญมัสยิด 12 ชุมชน    5) มีการขับเคลื่อนรูปแบบสภาชุมชน พบการมีส่วนร่วมชุมชน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) 0
วัยเรียน (6-12 ปี) 0
วัยรุ่น (13-15 ปี) 0
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน 0
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม 100 130
พระภิกษุ 0
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) 0
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ 50 50
- 0
คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรร 10 10
เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล และ รพสต รือเสาะ 20 10

บทคัดย่อ*

การติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้เขตพื้นที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาสใช้กรอบการประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ โดยประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วยคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้เขตพื้นที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จำนวน 10 คน เจ้าหน้าที่ทั่วไปโรงพยาบาลรือเสาะจำนวน 20 คน และกลุ่มประชาชนในพื้นที่ขับเคลื่อนพหุวัฒนธรรมวิถีพุทธจำนวน 50 คน และกลุ่มประชาชนวิถีมุสลิม จำนวน 185 คน โดยใช้กระบวนการสนทนากลุ่ม ซึ่งใช้แบบสอบถามแบบกึ่งโครงสร้างตามกรอบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพร่วมกับ การรวบรวมข้อมูลจากเอกสารของพื้นที่ การบันทึกภาคสนาม โดยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
            ผลการประเมินพบว่า 1) ด้านวิธีการทำงานการจัดการใหม่ในรูปแบบนโยบายสุขภาพดีวิถีธรรม กระทรวงสาธารณสุขโดยการใช้ 3ส3อ 1น วิถีพุทธ (3 ส ประกอบด้วย สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม, 3 อ ประกอบด้วย อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย,1น คือนาฬิกาชีวิต) ส่วน 3ส3อ 1น วิถีอิสลาม (3 ส ประกอบด้วย ดุอาร์ รักษาหม่าม นาศีฮัต, 3 อ ประกอบด้วย บารอกัต เอาชนะนัฟซู อามานะห์, 1น คือวิถีสุนนะห์) มาประยุกต์ใช้ในสถานบริการและชุมชน ในสถานบริการมีการใช้ Ruso 8 hrs happinometer ส่วนในชุมชนใช้แนวคิดวิถีพุทธ วิถีอิสลาม ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ใหม่ให้ชุมชนใกล้เคียงในตำบลลาโล๊ะได้ 2) ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใช้กิจกรรมคุณภาพชีวิต 5 ด้าน (การปกป้องจิตวิญญาณ การปกป้องชีวิต การปกป้องสติปัญญา การปกป้องครอบครัว การปกป้องทรัพยากร) เช่น การสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน รูปแบบการออกกำลังกายที่หลากหลาย มีเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ และใช้นาฬิกาชีวิตในครัวเรือน การนำส่งจิตอาสา 24 ชั่วโมง ในบ้านไทยสุข 44 ครัวเรือน ส่วนในชุมชนมุสลิมนำวิถีสุนนะห์ โดยผู้นำศาสนาและแกนนำ 3) ด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ มีการจัดการขยะในลักษณะเป็นขยะบุญ 12 ชุมชน การปลูกผักปลอดสารพิษ อย่างน้อย 5 ชนิด ปลูกทุกครัวเรือนในไทยพุทธ ส่วนชุมชนมุสลิม มีครัวเรือนปลูกผัก20 ครัวเรือน 4) ด้านนโยบายสาธารณะ มีธรรมนูญวัด และธรรมนูญมัสยิด 12 ชุมชน    5) มีการขับเคลื่อนรูปแบบสภาชุมชน พบการมีส่วนร่วมชุมชนไทยสุข ชุมชนมุสลิมร้อยละ 86.1, 56.9 ตามลำดับ
          ข้อเสนอแนะการดำเนินงานในสถานบริการเรื่องการประเมิน Ruso 8 hrs happinometer ต้องมีผู้ประเมินชัดเจน รวมถึงการทบทวนติดตามการใช้ 3ส3อ 1น วิถีพุทธ วิถีอิสลาม การนำธรรมนูญวัด มัสยิดที่ประกาศใช้เป็นระยะอย่างต่อเนื่องในชุมชน และขยายพื้นที่การใช้ 3ส3อ 1น วิถีพุทธ วิถีอิสลาม การร่วมทำและนำใช้ธรรมนูญวัด และธรรมนูญมัสยิดในพื้นที่ใกล้เคียง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ระยะเวลาโครงการ 1 พฤศจิกายน 2561 - 31 มีนาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

-นโยบายสุขภาพดีวิถี ธรรม กระทรวงสาธารณสุขโดยการใช้ 3ส3อ 1น โดยนำแนวคิดวิถีพุทธ มาปรับใช้ในการจัดการสุขภาพโดยวิธีอิสลามทั้งระบบบริการสุขภาพและชุมชน ดังนี้

  • ระบบบริการสุขภาพ มีการนำ เครื่องมือ Ruso 8 hrs Happinometer เป็นกระบวนการประเมินสภาวะวิกฤติระหว่างการให้บริการ 8 ชั่วโมงที่ให้บริการ ทั้งผู้ให้และผู้บริการ เพื่อเสริมกิจกรรมที่ลดภาวะวิกฤติในระบบบริการ
  • ในชุมชนพุทธและมุสลิม วิถีพุทธ (3 ส ประกอบด้วย สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม, 3 อ ประกอบด้วย อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย,1น คือนาฬิกาชีวิต) สำหรับการใช้นาฬิกาชีวิตในวิถีพุทธ มีการใช้ทุกครัวเรือน 44 ครัวเรือน 168 คน ในชุมชนไทยสุข รูปแบบการนำไปใช้ ประยุกต์ในช่วงเวลา 24 ชั่วโมง ตามกิจกรรมที่สนใจ ความพร้อมและความสมัครใจของสมาชิกในครอบครัว ส่วน 3ส3อ 1น วิถีอิสลาม (3 ส ประกอบด้วย ดุอาร์ รักษาหม่าม นาศีฮัต, 3 อ ประกอบด้วย บารอกัต เอาชนะนัฟซู อามานะห์, 1น คือวิถีสุนนะห์) ลักษณะการใช้นาฬิกาชีวิตรายบุคคลตามวิถี ยังไม่วิเคราะห์และประเมินผลที่ชัดเจน

แต่สามารถพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชนใกล้เคียงได้

  • แบบประเมิน Ruso 8 hrs Happinometer
  • http://hsmi2.psu.ac.th/scac/paper/156/owner
  • การใช้แบบประเมิน Ruso 8 hrs Happinometer ควรกำหนดผู้รับผิดชอบชัดเจนและจะต้องประจำอยู่ในกระบวนการให้บริการตลอดเวลา
  • ในระดับชุมชน ควรมีการกำหนดเครื่องมือและวิธีการใช้และประเมินนาฬิกาชีวิต และสามารถวิเคราะห์คืนข้อมูลให้ชุมชนเป้นระยะ ๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

2.1การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล ในชุมชนไทยสุขและชุมชนมุสลิม มีการปรัปเปลี่ยนฤติกรรมโดยการใช้กิจกรรมคุณภาพชีวิต 5 ด้าน (ด้านการปกป้องจิตวิญญาณ ด้านการปกป้องชีวิต ด้านการปกป้องสติปัญญา ด้านการปกป้องครอบครัว ด้านการปกป้องทรัพยากร) โดยใช้กิจกรรม 3ส3อ 1น ขับเคลื่อน

2.1.1 ชุมชนไทยพุทธใช้กิจกรรม 3 ส(สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม) โดยมีการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน สมาชิกครัวเรือนมีการสนทนาธรรมที่วัดทุก 4 ครั้ง ต่อเดือน และในกิจกรรม3 อ  ( อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ) เช่น การออกกำลังกาย 30 ต่อวันโดยการเต้นแอร์โรบิก ปั่นจักยาน เมนูอาหารเพื่อสุขภาพลดเสี่ยงเบาหวาน ความดัน กิจกรรมการจัดการชีวิต โดยใช้นาฬิกาชีวิต ในครัวเรือน ในบ้านไทยสุข 44 ครัวเรือน
2.1.2 ชุมชนมุสลิม มีการนำการปฏิบัติตามวิถีอิสลาม และการปฏิบัติตามแบบอย่างท่านนาบี โดยมีรูปแบบผู้นำศาสนาและแกนนำชักชวน มาร่วมกิจกรรมทางศาสนาต่างๆ เช่น การชักชวนมาละหมาดที่มัสยิด โดยใช้มาตรการทางสังคม โดนผู้ที่ละหมาดมัสยิดจะรวมตัวกันไปร้านกาแฟ ร้านอาหารที่เจ้าของร้านไปร่วมละหมาด ทำให้ มีผู้ละหมาดที่มัสยิด โดยใช้มาตรการทางสังคม โดนผู้ที่ละหมาดมัสยิดจะรวมตัวกันไปร้านกาแฟ ร้านอาหารที่เจ้าของร้านไปร่วมละหมาด ทำให้ มีผู้ละหมาดเพิ่มชึ้น จาก 3-4 คน เป็น 10-15 คน

 

  • การติดตามประเมินผลกิจกรรมคุณภาพชีวิต 5 ด้านให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

-2.2 การบริโภค ในชุมขนไทยพุทธมีการส่งเสริมเมนูอาหารเพื่อสุขภาพในครัวเรือน และงานบุญ การเน้นบริโภคผักริมรั้วปลอดสารพิษ อย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิด รวมถึงเมนูอาหารเพื่อสุขภาพลดเสี่ยงเบาหวาน ความดัน ในรูปแบบอาหารเป็นยา โดยเริ่มจากสมุนไพรใกล้บ้าน เช่น น้ำดื่มสมุนไพรควบคุมเบาหวาน เมนูอาหารเพื่อสุขภาพในครัวเรือน เป็นผลทำให้ เบาหวานรายใหม่ลดลงจาก 7 คน เหลือ 5 คนในปี61 ความดันโลหิตสุงรายใหม่ลดลงจาก 12คน เหลือ 5 คนในปี61DM control ลดลงจาก 8คน เหลือ 6คนในปี61DM control ลดลงจาก 8คน เหลือ 6 คนในปี61HTcontrolเพิ่มขึ้น จาก14 คน เหลือ 19คนในปี61 ส่วนในชุมชนมุสลิมมีการเน้นบริโภคผักริมรั้วปลอดสารพิษ อย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิดในชุมชนมุสลิม ต ลาโละ

 

  • ควรออกแบบการติดตามเมนูการใช้เมนูสุขภาพ ทั้งในกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยให้ชัดเจน ทำให้เห็นภาพของการเมนูสุขภาพได้ดียิ่งขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

2.3 การออกกำลังกาย มีลานออกกำลังกายในชุมชน การออกกำลังกาย 30 คนต่อวันโดยการเต้นแอร์โรบิกทุกวัน เช้าเย็น รวมถึงมีกิจกรรม ปั่นจักยาน มีการกำหนดเส้นทางปั่นจักยานของชุมชนระยะทาง 16 กม โดยมีกลุ่มปั่นจักยาน 30 คน เป็นสมาชิกกลุ่ม ซึ่งได้นำงบกองทุนออมทรัพย์ของชุมชนไทยสุขจัดซื้อจักยานกองกลาง 20 คันมีลานออกกำลังกายในชุมชน ให้คนในชุมชนยืมออกกำลังกาย มีศูนย์ออกกำลังกายสำหรับคนในชุมชน และชุมชนมีการออแบบการออกกำลังกายที่หลากหลาย เช่น เต้นแอร์โรบิก ออกกำลังกายโ้วยเครื่อง ฟุตบอล วิ่ง เป้นต้น  ส่วนชุมชนมุสลิมมีสถานที่เช่น สนามโรงเรียนเป็นแหล่งออกกำลังกาย แต่ขาดการรวมกลุ่มร่วมออกกำลังกาย จะเป็นรูปแบบต่างคนต่างออกกำลังกาย

 

  • การติดตามภาวะสุขภาพของกลุ่มที่ออกกำลังกาย เป็นรายบุคคลและนำเสนอเป็นภาพรวมของกลุ่มเพื่อสร้างความตระหนักของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

2.4 การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ ในชุมชนไทยพุทธมีการจัดอบรมให้ความรู้ในชุมชน ฟังบรรยายธรรม และเน้นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ด้วยการออกกำลังกายที่ศุนย์เรียนรู้ในกลุ่มเยาชนและเด็ก ทำให้ไม่พบผู้ติดยาเสพติดรายใหม่ และสูบบุหรี่รายใหม่ ส่วนในชุมชนมุสลิมเน้นการบรรยายธรรมพบว่า มีผู้เลิกบุหรี่ 2 คน

 

  • ควรขยายผลกลุ่มเป้าหมายและติดตามการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มเป้า หมายอย่างใกล้ชิด และสร้างความต่อเนื่อง เน้นย้ำความสำคัญของลดอบายมุข
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

2.5 การจัดการอารมณ์ / ความเครียด ในชุมชนไทยพุทธมีการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน สมาชิกครัวเรือนมีการสนทนาธรรม ในกลุ่มประชาชน เยาวชน ที่วัดในทุกวันพระ 4 ครั้ง ต่อเดือน กำหนดเขตปลอดเครื่องมือสิ่อสาร ในลานฝึกสมาธิ ขยายให้เกิดการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ของครัวเรือนทุกครัวเรือนในแต่ละวัน ส่วนในชุมชนมุสลิมเน้นการบรรยายธรรมอาทิตย์ละ 1 ครั้งที่มัสยิด และทุกวันศุกร์มีผู้เข้าร่วมเป็นชายที่ครบอายุต้องละหมาดแต่ไม่ได้ประเมินผู้เข้าร่วมว่ากี่ครัวเรือนที่เข้าร่วมอย่างต่อเนื่อง

 

  • ควรขยายผลกลุ่มเป้าหมายและติดตามการเปลี่ยนแปลงทางสุขภาพของกลุ่มเป้า หมายที่ใช้การจัดการอารณ์/ความเครียด และสร้างความต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

วิถีเกื้อกูลและช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่างไทยพุทธ มุสลิม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน - การใช้รถนำส่งผู้ป่วยโดยใช้รถจิตอาสาในชุมชนตลอด 24 ชั่วโมง เน้นผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก กล้ามเนื่ออ่อนแรง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

3.1 มีรูปแบบการจัดการขยะ ในลักษณะเป็นขยะบุญ โดยให้คนชุมชน คัดแยกขยะที่สามารถขายได้ และเป็นขยะสะอาด นำมาบริจากที่มัสยิด เพื่อขายนำเงินเพื่อใช้ในสาธารณประโยชน์ของมัสยิด ดำเนินงานชุมชนมุสลิม ตำบลโละ 12 ชุมชน ในชุมชนไทยไทยพุทธมีกองทุนขยะที่วัดเช่นกัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

3.2มีการใช้ศาสนา / วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนาโดยการใช้กรอบแนวคิด วิถีธรรม 3ส3อ 1น สร้างพื้นที่สาธารณะโดยใช้ มัสยิด และวัดเป็นฐานในการส่วเสริมสุขภาพ เช่น ลานออกกำลังกายในวัด ลานสนทนาธรรมในวัด และมัสยิด

 

  • ชุมชนควรสร้างความเข้มแข้งของสภาพสังคม อย่างต่อเนื่อง เพิ่มสัดส่วนและพื้นที่ที่เอื้อต่อสุขภาวะชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

3.3 ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ อย่างน้อน 5 ชนิด ปลูกทุกครัวเรือนในไทยพุทธ ส่วนชุมชนมุสลิม มีครัวเรือนปลูกผัก20 ครัวเรือน มีพื้นที่สาธารณะในลักษนะบ่อปลาสาธารณะที่มีพันธ์ปลา ซึ่งมีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน ทั้งนี้การจับปลาในบ่อปลาดุในพื้นที่สาธารณะจะมีอัตราค่าบริการตามเครื่องมือการจับ นำเงินเป็นส่วนกลางเพื่อนำซื้อพันธ์มาใส่ในบ่อปลาต่อไป

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

3.4 มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ การใช้รถนำส่งผู้ป่วยโดยใช้รถจิตอาสาในชุมชนด้วยรถของชุมชนไทยพุทธ ซึ่งคนมุสลิมและไทยพุทธร่วมใช้บริการได้ ร่วมกับรถฉุกเฉิน1669 ของ อบต และ โรงพยาบาล

 

  • ชุมชนควรเพิ่มทักษะการช่วยเหลือเบื้องต้นและการคัดกรองและเฝ้าระวังอาการเตือน/อาการที่ต้องนำส่งโรงพยาบาล เพื่อให้ได้รับการช่วยเหลือทันท่วงที
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน การจับปลาในบ่อปลาดุในพื้นที่สาธาณะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
  • มีธรรมนูญของชุมชน ธรรมนุญวัด และธรรมนูญมัสยิด(วิถีพุธและวิถีอิสลาม )

  - นำใช้ธรรมนูญสุขภาวะวัดอย่างเป็นรูปธรรม คือ หมวดความมั่นคงปลอดภัยในชิวิต หมวดสุขภาพ หมวดการศึกาษา หมวดครอบครัวและสังคม ผู้พิการ ผู้ด้วยโดกาส เด็กกำพร้า แม่หม้าย และผู้ป่วยติดเตียง หมวดทรัพย์สินเศรษฐกิจ และทรัพยากรชุมชน ขาดการทำบัญชีครัวเรือน และหมวดขับเคลื่อนธรรมนูญสู่การปฏิบัติ ยังไม่มีการทบทวนนำสู่การแก้ไขต่อไป

  - ธรรมนูญสุขภาวะมัสยิด ขับเคลื่อนเพียงบางหมวด เช่น หมวดครอบครัวและสังคม หมวดด้านการศึกษาในขับเคลื่อน ในการเข้าร่วมกิจกรรมสำคัญ และเดือนสำคัญทางศาสนา การอบรมการปฏิบัติศาสนกิจ

  - วิถีเกื้อกูลและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในชุมชน ต ลาโละ มีความสัมพันะืที่ดี มีการประชุมพูดคุยอย่างต่อเนื่องตามเทศการวัฒนธรรมและประเพณีของไทยพุทธและไทยมุสลิม มีกิจกรรมสัมพันธ์ เช่น ในเดือนรอมฎอน ชุมชนไทยพุทธจะนำอินทผาลัมไปเยี่นมชุมชนมุสลิม วันสารทชุมชนมุสลิมนำข้าวสารให้ชุมชนไทยพุทธ ทให้เกิดความสงบสุขในตำบลลาโละ

 

  • ควรมีการติดตามประเมินผลและทบทวนธรรมนูญเพื่อให้สอดคล้องบริบทชุมชนพหุวัฒนธรรมต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
  • เกิดความร่วมมือ สภาชุมชนและหน่วยบริการสุขภาพและเครือข่ายในตำบล การร่วมคิดร่วมทำธรรมนูญสุขภาวะ โดยชุมชนและเครือข่ายร่วมวางแผน ติดตามโดยชุมชน เช่น ประชุมสภาชุมชน ประชุมร่วมของชุมชนไทยพุทธ ไทยมุสลิม ประชุมกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตทุกภาคส่วน

 

  • ชุมชนจะต้องสร้างความเข้มแข็งในการจัดการตนเองโดยให้หน่วยบริการสุขภาพและเครือข่ายเป็นพี่เลี้ยง ตามความจำเป็น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนด้วยการติดตามการดำเนินงานในชุมชน และประชุมติดตามโดยทีมคณะทำงานทุกไตรมาส

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
  • แกนนำโครงการและชุมชนชุมชนทั้งไทยพุทธและมุสลิมเกิดความภาคภูมิใจในตนเองที่สามารถพัฒนาออกแบบการบริการสุขภาพสร้างการเปลี่ยนแปลงให้ระบบการบริการตั้งแต่ระดับหน่วยบริการสาธารณสุขพหุวัฒนธรรมที่มีความสุขสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ

 

  • ควรสร้างความเข้าใจในและนอกชุมชนให้เพิ่มขึ้นและพัฒนาระบบการบริการต้นแบบในสังคมพหุวัฒนธรรมทีมีความสุขต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

การประเมินติดตามโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนใต้ : โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาหามะ เจ๊ะโซะ, นางนิมลต์ หะยีนิมะ, นางเพียงกานต์ เด่นดารา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด