ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ ( M&E Thailand )

directions_run

โครงการประเมินผลโครงการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทาง ถนนในชุมชน บ้านป่ายางมนใหม่ ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการประเมินผลโครงการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทาง ถนนในชุมชน บ้านป่ายางมนใหม่ ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย ”

ตำบลรอบเวียง อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

หัวหน้าโครงการ
1.นิรันดร์ แปงคำ 2.สำราญ เชื้อเมืองพาน และ 3.เสถียร ฉันทะ

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผลโครงการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทาง ถนนในชุมชน บ้านป่ายางมนใหม่ ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย

ที่อยู่ ตำบลรอบเวียง อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย จังหวัด เชียงราย

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 15 มกราคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินผลโครงการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทาง ถนนในชุมชน บ้านป่ายางมนใหม่ ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย จังหวัดเชียงราย" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรอบเวียง อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินผลโครงการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทาง ถนนในชุมชน บ้านป่ายางมนใหม่ ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินผลโครงการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทาง ถนนในชุมชน บ้านป่ายางมนใหม่ ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรอบเวียง อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2561 - 15 มกราคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  1. ข้อมูลพื้นฐานชุมชน(จำนวนประชากร ที่ตั้งของชุมชน ลักษณะพื้นที่ของชุมชน ลักษณะอาชีพ และความเป็นอยู่) บ้านป่ายางมนหมู่ 5 มีครัวเรือนจำนวน 194 ครัวเรือน จำนวนประชากรทั้งหมด 570 คน แยกเป็นชาย 263 คน หญิง จำนวน 307 คน เป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลรอบเวียง อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย โดยลักษณะพื้นที่ชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท ซึ่งอยู่ห่างตัวเมืองเชียงราย เพียง 5 กิโลเมตร เป็นหมู่บ้านที่มีถนนเส้นทางจราจรผ่านข้ามไปอำเภอเวียงชัย ส่วนใหญ่จะมีคนต่างถิ่นสัญจรผ่านบ้านป่ายางมนใหม่ มีครัวเรือนอาศัยอยู่กันจำนวนมาก มีทั้งประชาชนที่มีพื้นเพดั้งเดิมเป็นคนบ้านป่ายางมนใหม่ และมีคนย้ายมาจากพื้นที่อื่น มาปลูกบ้านเรือนอยู่ในเขตที่บ้านป่ายางมนใหม่ และยังมีหมู่บ้านจัดสรร อีก 2 แห่งที่ตั้งอยู่ในพื้นที่บ้านป่ายางมนใหม่ ตลอดจนมีวัดบ้านป่ายางมน พระธาตุสมปรารถนา โรงเรียนบ้านป่ายางมน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่ายางมน และฌาปนสถาน ตั้งอยู่ในพื้นที่บ้านป่างยางมนใหม่ โดยประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกตรกรรม รับจ้างทั่วไป ค้าขาย และประชาชนมีความเป็นอยู่เครือญาติ มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ต้องเพิ่งพาอาศัยกัน ซึ่งมีงานสัญจรใช้ถนนในชุมชน จำนวนมาก ประกอบถนนมีทางโค้ง ทางแยกหลายแห่งที่เป็นทางแยกที่อันตรายเกิดอุบัติเหตุบ่อยสร้างความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน ข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุ 3 ปีย้อนหลัง จากการสัมภาษณ์ สอบถาม จากผู้นำในชุมชน มีข้อมูลอุบัติเหตุเกิดขึ้น ทั้งจุดทางโค้ง จุดทางแยก ทางโค้ง ประมาณ จำนวน 10 ครั้ง ทางแยก จำนวน ประมาณ 20 ครั้ง หน้าโรงเรียน จำนวน ประมาณ 5 ครั้ง
  2. ข้อมูลปัญหาอุบัติเหตุ จากจุดเสี่ยงที่เกิดขึ้นในชุมชน (ที่ไม่ใช่ถนนทางหลวงเส้นหลัก) มีจุดเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุในหมู่บ้านของท่าน จำนวน 4 จุด ทางโค้ง 2 จุด ทางแยก 6 จุด
  3. จุดเสี่ยงอันตรายที่เกิดขึ้นในชุมชน คือ ตำแหน่งที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งบนถนนในชุมชน/หมู่บ้านที่มิใช่ทางหลวงเส้นหลัก และมีความสูญเสียจากอุบัติเหตุสูง เช่น ถนนเป็นหลุมเป็นบ่อ ทางโค้ง ทางร่วม ทางแยก ไม่มีแสงสว่าง ฯลฯ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในเขตพื้นที่บ้านป่ายางมนใหม่ จะเป็นการขับรถด้วยความเร็ว ถึงจุดทางแยก ทางโค้งไม่ชะลดรถความเร็ว ตลอดจนไม่มีสัญญาณเตือนทางแยก ทางโค้ง กระจกโค้ง พื้นที่ของบ้านป่ายางมนใหม่มีทางแยกมีหลายจุดที่เป็นอับไม่สามารถมองเห็นรถที่วิ่งสวนทางมาอีกฝั่งได้ ประกอบกับถนนแคบ แต่มีรถสัญจรผ่านจำนวนมาก เพราะเป็นเส้นทางผ่านไปยังหมู่บ้านป่ายางมน บ้านป่าบง และหมู่บ้านจัดสรรที่ตั้งอยู่ในพื้นที่และอำเภอเวียงชัย ผู้ขับขี่ไม่ชินกับเส้นทาง อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดความสูญเสียทรัพย์สิน รถได้รับความเสียหาย และบาดเจ็บ ตลอดจนทรัพย์รั้ว ไฟฟ้า ได้รับความเสียหาย เป็นต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน
  2. เพื่อลดสถานที่เป็นจุดเสี่ยงก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนลง
  3. ร่วมกันกำหนดมาตรการการธรรมนูญชุมชน เพื่อจัดการจุดเสี่ยงภัยทางถนนในชุมชน เช่น สวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่ เมาไม่ขับ ขับรถไม่เกิน 60 กม./ชม.
  4. เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการประเมินโครงการ สสส.ให้กับทีมงาน
  2. ลงพื้นที่ประเมินโครงการร่วมกับทีมงานและคณะกรรมการหมู่บ้าน
  3. ประสานงานเครือข่ายเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการประเมิน
  4. ลงระบบประเมินผลโครงการ
  5. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่การเขียนรายงานผล
  6. ติดตามผลการขับเคลื่อนการแก้ไขจุดเสี่ยงทางถนนในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
วัยเรียน (6-12 ปี)
วัยรุ่น (13-15 ปี)
เยาวชน (15-20 ปี)
วัยทำงาน 10
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ
ผู้หญิง
มุสลิม
พระภิกษุ
ชาติพันธุ์
ผู้ต้องขัง
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ)
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ)
แรงงานข้ามชาติ
อื่น ๆ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดคณะกรรมการ/ทำงานของชุมชน ที่เข้มแข็ง 2.ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงสถานการณ์ปัญหาและความปลอดภัยจากอุบัติเหตุทางถนนที่จุดเสี่ยงต่างๆในชุมชน 3.จุดเสี่ยงทางถนนในชุมชนได้รับการแก้ไข 4.อุบัติเหตุทางถนนที่จุดเสี่ยงในชุมชนลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประสานงานเครือข่ายเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการประเมิน

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานเครือข่ายเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการประเมินผลการดำเนินงานของชุมชนตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึงปัจจุบัน ว่าได้ดำเนินการกิจกรรมอะไรบ้าง และยังกิจกรรมที่ไม่ได้ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ประสานงานกับผู้ใหญ่บ้าน และผู้ใหญ่บ้านได้นัดกรรมการหมู่บ้านเพื่อเตรียมพร้อมการประเมินโครงการ โดยนัดวันที่8ธันวาคม2561 ณ ห้องประชุมอาคารอเนกประสงค์ของหมู่บ้าน

 

1 0

2. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการประเมินโครงการ สสส.ให้กับทีมงาน

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ทีมงานประเมิน ประชุมเพื่อศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการโครงการ ที่ได้รับการสนับสนุนจาก สสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีมงานประเมิน ได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการแล้ว และได้กำหนดแผนลงพื้นที่โครงการ ในวันที่ 8 ธันวาคม 2561 เวลา 9 โมงเช้า โดยการประสานงานกับผู้ใหญ่บ้าน ให้นัดคณะกรรมการมเข้าร่วมประเมินด้วย

 

3 0

3. ลงพื้นที่ประเมินโครงการร่วมกับทีมงานและคณะกรรมการหมู่บ้าน

วันที่ 8 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ทีมงานลงพื้นที่ประเมินโครงการ ชี้แจงโครงการให้กับคณะกรรมการหมู่บ้าน และให้คณะกรรมการหมู่บ้านนำเสนอผลการขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน(8ธันวาคม2561)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ประเมินโครงการ ได้ชี้แจงโครงการให้กับคณะกรรมการหมู่บ้าน และให้คณะกรรมการหมู่บ้านนำเสนอผลการขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน (8ธันวาคม2561)

 

10 0

4. ลงระบบประเมินผลโครงการ

วันที่ 20 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นำข้อมูลที่ได้จากโครงการในหมู่บ้าน และข้อมูลความก้าวหน้าของกิจกรรมโครงการลงระบบประเมิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูลที่ได้จากโครงการในหมู่บ้าน และข้อมูลความก้าวหน้าของกิจกรรมโครงการลงระบบประเมิน

 

3 0

5. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่การเขียนรายงานผล

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

นำข้อมูลที่ลงระบบแล้วนำมาวิเคราะห์ เพื่อนำไปสู่การเขียนรายงานผลการประเมิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูลที่ลงระบบที่วิเคราะห์แล้ว เพื่อนำไปสู่การเขียนรายงานผลการประเมิน

 

3 0

6. ติดตามผลการขับเคลื่อนการแก้ไขจุดเสี่ยงทางถนนในชุมชน

วันที่ 9 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามผลการขับเคลื่อนการแก้ไขจุดเสี่ยงทางถนนในชุมชน ดังนี้
1.ชวนคุยเพื่อค้นหาคุณค่าของโครงการ ร่วมกับคณะกรรมการหมู่บ้าน ซึ่งมีความเข้มแข็ง สามารถที่จะขยายผลไปสู่การพัฒนาด้านอื่นๆได้ 2.คณะกรรมการหมู่บ้าน ได้จัดทำประชาคมหมู่บ้าน ได้มีฉันทมติในการกำหนดมาตรการชุมชน เช่น การขับขี่ต้องสวมหมวกนิรภัย ทุกครั้ง ขับขี่ไม่เกิน 60 กม./ชม. เมาไม่ขับ เป็นต้น 3.คณะกรรมการหมู่บ้าน ได้ดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยง ใน 6 จุด ได้พัฒนาปรับปรุงแก้ไขแล้ว 3 จุด อีก 3 จุดอยู่ระหว่างดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามผลการขับเคลื่อนการแก้ไขจุดเสี่ยงทางถนนในชุมชน ดังนี้
1.คุณค่าของโครงการ โดยคณะกรรมการหมู่บ้าน มีความเข้มแข็ง สามารถที่จะขยายผลไปสู่การพัฒนาด้านอื่นๆ เช่น การจัดการขยะในชุมชน 2.การกำหนดมาตรการชุมชน เช่น การขับขี่ต้องสวมหมวกนิรภัย ทุกครั้ง ขับขี่ไม่เกิน 60 กม./ชม. เมาไม่ขับ เป็นต้น 3.การแก้ไขจุดเสี่ยง ใน 6 จุด ได้พัฒนาปรับปรุงแก้ไขแล้ว 3 จุด อีก 3 จุดอยู่ระหว่างดำเนินการ 4.ปี 2562 ทาง อบต.ร่วมกับทางจังหวัด ได้คัดเลือกชุมชนแห่งนี้เป็นชุมชนต้นแบบ(ตัวอย่าง)ของการจัดการแก้ไขจุดเสี่ยงภัยบนถนนในชุมชน

 

8 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน(คน) ลดลงเหลือ 0 คน
20.00 4.00 0.00

 

2 เพื่อลดสถานที่เป็นจุดเสี่ยงก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนลง
ตัวชี้วัด : จำนวนสถานที่เป็นจุดเสี่ยงก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน ได้รับการแก้ไข
3.00

 

3 ร่วมกันกำหนดมาตรการการธรรมนูญชุมชน เพื่อจัดการจุดเสี่ยงภัยทางถนนในชุมชน เช่น สวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่ เมาไม่ขับ ขับรถไม่เกิน 60 กม./ชม.
ตัวชี้วัด : 1.การมีส่วนร่วมของชาวบ้านในชุมชน 2.คณะกรรมการชุมชนเข้มแข็ง 3.การหนุนเสริมจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อบต.รอบเวียง)สนับสนุน ความรู้ความปลอดภัยทางถนน บุคลากร และวัสดุอุปกรณ์ในการแก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยง 4.ภาคเอกชน(กรีนวิง/ผู้ประกอบการจำหน่ายรถจักรยายนต์)สนับสนุนให้ความรู้แก่ชาวบ้านและนักเรียน
1.00

 

4 เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน(คน)
20.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 10
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
ปฐมวัย (0-5 ปี) -
วัยเรียน (6-12 ปี) -
วัยรุ่น (13-15 ปี) -
เยาวชน (15-20 ปี) -
วัยทำงาน 10
ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
ผู้พิการ -
ผู้หญิง -
มุสลิม -
พระภิกษุ -
ชาติพันธุ์ -
ผู้ต้องขัง -
หลากหลายทางเพศ (LGBTIQ) -
กลุ่มด้อยโอกาส (คนไร้บ้าน, เด็กเร่ร่อน, เด็กกำพร้า, เด็กในสถานพินิจ ฯลฯ) -
แรงงานข้ามชาติ -
อื่น ๆ -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน (2) เพื่อลดสถานที่เป็นจุดเสี่ยงก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนลง (3) ร่วมกันกำหนดมาตรการการธรรมนูญชุมชน เพื่อจัดการจุดเสี่ยงภัยทางถนนในชุมชน เช่น สวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่ เมาไม่ขับ ขับรถไม่เกิน 60 กม./ชม. (4) เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการประเมินโครงการ สสส.ให้กับทีมงาน (2) ลงพื้นที่ประเมินโครงการร่วมกับทีมงานและคณะกรรมการหมู่บ้าน (3) ประสานงานเครือข่ายเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการประเมิน (4) ลงระบบประเมินผลโครงการ (5) วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่การเขียนรายงานผล (6) ติดตามผลการขับเคลื่อนการแก้ไขจุดเสี่ยงทางถนนในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการประเมินผลโครงการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทาง ถนนในชุมชน บ้านป่ายางมนใหม่ ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย

ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2561 - 15 มกราคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการประเมินผลโครงการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทาง ถนนในชุมชน บ้านป่ายางมนใหม่ ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย จังหวัด เชียงราย

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นิรันดร์ แปงคำ 2.สำราญ เชื้อเมืองพาน และ 3.เสถียร ฉันทะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด